Page 43 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกรุงเทพมหานคร
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               36







                       และจังหวัดอื่น ๆ ทางภาคเหนือ โดยจัดเปนไมลมลุก มีอายุหลายป มีเหงาอยูใตดิน โดยกระชาย
                       ดําที่ดีนั้นจะตองมีสีมวงเขมถึงสีดํา เปนพืชที่ชอบที่รม ดินรวนซุยหรือเปนดินปนทรายที่มีการระบาย
                       น้ําไดดี ชอบอากาศหนาวเย็น โดยพื้นที่กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกกระชายดําที่
                       ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 16,586  ไร สวนใหญกระจายอยูในพื้นที่เขตตลิ่งชัน เขตทุงครุ

                       เขตจอมทอง เขตภาษีเจริญ และเขตราษฎรบูรณะ สวนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) ประมาณ
                       68,187 ไร สวนใหญกระจายอยูในเขตบางขุนเทียน เขตบางแค เขตบางบอน เขตทวีวัฒนา เขตหนองแขม
                       และเขตตลิ่งชัน

                              ขมิ้นชัน ปจจุบันมีแหลงปลูกที่สําคัญหลายแหง เปนการปลูกเพื่อการคา สวนการปลูกเพื่อใช

                       ในครัวเรือนจะมีอยูทั่วไปทุกภาคของประเทศไทย มีถิ่นกําเนิดในประเทศแถบเอเชียใตและเอเชีย
                       ตะวันออกเฉียงใต ชอบแสงแดดจัด และมีความชื้นสูง ชอบดินรวนซุย มีการระบายน้ําดี ไมชอบน้ําขัง
                       เกษตรกรสามารถปลูกขมิ้นชันแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน และมีรายไดระหวางรอ

                       การเติบโตของพืชหลัก โดยพื้นที่กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกขมิ้นชันที่ระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 84,772  ไร สวนใหญกระจายอยูในเขตบางขุนเทียน เขตบางแค เขตตลิ่งชัน
                       เขตทวีวัฒนา เขตหนองแขม เขตทุงครุ เขตจอมทอง และเขตภาษีเจริญ

                              บัวบก เปนพืชลมลุกอายุหลายปปลูกงาย ชอบที่ลุมชื้นแฉะเล็กนอย ตามขอบคันนา ชอบแสง

                       รําไร มีเถาเลื้อยไปตามผิวดิน เจริญเติบโตไดดีในดินรวนปนทราย  ชื้นแฉะ  มีความอุดมสมบูรณและ
                       การระบายนํ้าดี  เกษตรกรสามารถปลูกบัวบกแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน  และมีรายได
                       ระหวางรอการเติบโตของพืชหลัก โดยพื้นที่กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกบัวบกที่ระดับ
                       ความเหมาะสมสูง  (S1)  ประมาณ  24  ไร  สวนใหญกระจายอยูในเขตบางบอน และเขตหนองแขม
                       สวนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) ประมาณ 24,553  ไร สวนใหญกระจายอยูในเขตตลิ่งชัน

                       เขตทุงครุ เขตจอมทอง เขตราษฎรบูรณะ และเขตบางขุนเทียน

                       4. แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ


                         4.1 ขาว
                               (1) พื้นที่ปลูกขาวทั้งหมด พบวาเปนพื้นที่ศักยภาพที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และ
                       ปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 113,036  ไร อยูในพื้นที่รวม 11 เขต สวนใหญอยูในเขตหนองจอก
                       เขตลาดกระบัง และเขตคลองสามวา และตั้งอยูในเขตชลประทาน ทั้งนี้คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดิน

                       จังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาวที่สําคัญของจังหวัด และมี
                       การบริหารจัดการน้ําชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว มีการรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ
                       พัฒนาตอยอดครบวงจรดานการตลาดในและตางประเทศ การแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุน
                       การทํามาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good    Agricultural

                       Practices:  GAP) เนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะชวยใหเกษตรกรมีรายได
                       เพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบํารุงดิน ทั้งนี้ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนํา
                       วาพื้นที่นี้เปนพื้นที่ที่มีความเหมาะสมตอการปลูกขาวจึงไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาว
                       ราคาไมดีถาตองการเปลี่ยนชนิดพืชควรเปนพืชไร เพื่อที่ในอนาคตจะกลับมาทํานาไดอีก
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48