Page 8 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสกลนคร
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                3








                       เช่น ชุดดินช านิ (Cni) ชุดดินละหานทราย (Lah) ชุดดินมหาสารคาม (Msk) ชุดดินโพนพิสัย (Pp)
                       ชุดดินเรณู (Rn) ชุดดินปลาปาก (Ppk) ชุดดินท่าอุเทน (Tu)

                               (2) พื้นที่เป็นแบบลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงสภาพพื้นที่แบบเนินเขา ดินส่วนใหญ่มี
                       การระบายน้ าค่อนข้างดีถึงดี สีน้ าตาล น้ าตาลปนเหลือง เหลือง น้ าตาลปนแดง เหลืองปนแดง จนถึงสี

                       แดง เนื้อดินมีทรายปนอย่างชัดเจน บางบริเวณพบลูกรังในหน้าตัดดิน ค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึง

                       เป็นกรดปานกลาง เช่น ชุดดินสีทน (St) พบบริเวณพื้นที่ลักษณะเป็นร่อง ชุดดินร้อยเอ็ด (Re) พบบริเวณ
                       พื้นที่ลักษณะเป็นที่ราบ เช่น ชุดดินพระทองค า (Ptk) ชุดดินค าบง (Kg) ชุดดินปักธงชัย (Ptc) และ

                       ชุดดินห้วยแถลง (Ht) เป็นต้นพบบริเวณพื้นที่ลักษณะเป็นที่ค่อนข้างราบถึงเป็นลูกคลื่น ส าหรับดิน
                       ที่เกิดความไม่ต่อเนื่องทางธรณีวิทยา (Lithologic discontinuities) มักเป็นชั้นดินทรายในตอนบน

                       และเปลี่ยนเป็นดินเหนียวหรือชั้นหินพื้น (weathering insitu) ในตอนล่าง (Abrupt textural change)

                       เช่น ชุดดินพล (Pho) ชุดดินเขมราฐ (Kmr) ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) และชุดดินโนนแดง (Ndg) เป็นต้น
                             4) พื นเกือบราบ (Peneplain) เป็นภูมิลักษณ์ของพื้นผิวดินภายหลังการกร่อน เกิดจาก

                       การผุพังด้วยกระบวนการกร่อนท าลายโดยน้ า ท าให้พื้นที่สูงเดิมซึ่งขรุขระและสูงต่ าแตกต่างกันมาก

                       มีระดับต่ าลงจนมีลักษณะคล้ายลูกคลื่นลอนลาดหรือพื้นที่เกือบราบ วัตถุต้นก าเนิดดินเกิดจาก
                       การผุพังสลายตัวอยู่กับที่หรือเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกล ดินจึงมีลักษณะเด่นตามวัตถุต้นก าเนิด

                       หรือหินที่รองรับอยู่ด้านล่างและระดับการพัฒนาตัวของดิน จังหวัดสกลนครพบพื้นที่ที่พัฒนาจาก
                       หินทราย ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกมาก เนื้อดินเป็นทรายปนดินร่วนถึงดินร่วนปน

                       ชิ้นส่วนหยาบมาก สีแดง น้ าตาล และน้ าตาลปนแดง การระบายน้ าดีถึงมากเกินไป พบเศษหินปะปน

                       ในหน้าตัดดินหรือบนผิวดิน เช่น ชุดดินภูพาน (Pu) และวังน้ าเขียว (Wk) เป็นต้น
                             5) พื นที่ลาดชันเชิงซ้อน เป็นพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 35 ทรัพยากรดินมี

                       ความแตกต่างกันออกไปในแต่ละพื้นที่
                               ซึ่งได้แสดงรายละเอียดของชุดดินที่พบมากของจังหวัด ในภาพที่ 1 – 5
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13