Page 7 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสกลนคร
P. 7

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2








                         1.4  ทรัพยากรดิน
                             ทรัพยากรดินของจังหวัดสกลนคร แบ่งตามภูมิสัณฐาน ลักษณะทางธรณีวิทยา และ

                       วัตถุต้นก าเนิดดิน ได้ดังนี้
                             1) ที่ราบน  าท่วมถึง (Flood plain) ที่ราบริมแม่น้ าหรือล าธาร หน้าฝนหรือหน้าน้ า

                       มักมีน้ าท่วมเป็นครั้งคราว เป็นสภาพพื้นที่ที่เกิดจาการทับถมของตะกอนน้ าพา และมีตะกอนเพิ่มมาก

                       ขึ้นหลังน้ าท่วม แบ่งเป็น
                               (1) สันดินริมน้ า (Levee) เป็นที่ดอน เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ าพาบริเวณริมฝั่ง

                       แม่น้ าเป็นสันนูนขนานไปกับริมฝั่งแม่น้ า การระบายน้ าค่อนข้างดีถึงดี เนื้อดินค่อนข้างหยาบ อาทิ
                       ชุดดินชุมพลบุรี (Chp)

                               (2) ลุ่มหลังสันดินริมน้ า (Back swamp, basin) เป็นที่ลุ่มน้ าขังอยู่ระหว่างสันดินริมน้ า

                       กับตะพักล าน้ าหรือด้านข้างหุบเขา การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงเลว ดินลึกมาก เนื้อดินเหนียวละเอียด
                       สีเทาและน้ าตาลปนเทา อาทิ ชุดดินศรีสงคราม (Ss)

                             2) ที่ราบตะกอนน  าพา (Alluvial plain) เป็นบริเวณที่ได้รับอิทธิพลของแม่น้ าหรือล าน้ า

                       สาขา วัตถุต้นก าเนิดดินเป็นตะกอนน้ าพา (alluvium) มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเป็นขั้น ๆ แต่ละข้าง
                       อาจมีตะพักได้หลายระดับ ประกอบด้วย

                               (1) สันดินริมน้ า (Levee) เป็นที่ดอน เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ าพาบริเวณริมฝั่ง
                       แม่น้ า เป็นสันนูนขนานไปกับริมฝั่งแม่น้ า การระบายน้ าค่อนข้างดีถึงดี เนื้อดินค่อนข้างหยาบ เช่น

                       ชุดดินหนองบุญนาค (Nbn)

                               (2) ส่วนต่ าของสันดินริมน้ า (Lower part of levee) เป็นดินลุ่ม มีสภาพพื้นที่ค่อนข้าง
                       ราบเรียบ ดินลึกมาก เนื้อดินร่วนหยาบถึงดินทรายแป้งละเอียด มีสีเทาและน้ าตาลปนเทา การระบายน้ า

                       ค่อนข้างเลว เช่น ชุดดินจักราช (Ckr) ชุดดินธาตุพนม (Tp) ชุดดินธวัชบุรี (Th) และชุดดินศรีขรภูมิ (Sik)
                             3) ที่ราบตะกอนน  าพา (Alluvial plain) เป็นบริเวณที่ได้รับอิทธิพลของแม่น้ าหรือล า

                       น้ าสาขา วัตถุต้นก าเนิดดินเป็นตะกอนน้ าพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบขนาดใหญ่สอง

                       ฝั่งแม่น้ า แต่ละฝั่งอาจมีที่ราบแบบขั้นบันไดหรือตะพักได้หลายระดับ แบ่งเป็น
                               (1) พื้นที่แบบราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงเลวใน

                       บริเวณที่ราบลุ่มหรือที่ราบ หรือตามร่องระหว่างที่ดอนหรือเนิน เนื้อดินส่วนใหญ่มีทรายปน มีสีเทา

                       หรือน้ าตาลปนเทา พบจุดสีต่าง ๆ ถัดขึ้นมาบริเวณพื้นที่ที่ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาด
                       เล็กน้อย มีสีน้ าตาล น้ าตาลปนเหลือง และเหลือง และมีจุดประสีเทาค่อนข้างชัดเจน โดยเฉพาะ

                       ในช่วงตอนบนเนื่องจากการขังน้ า พบจุดประสีเหลือง น้ าตาล หรือแดงในดินล่าง มีการระบายน้ า

                       ค่อนข้างเลวถึงดีปานกลาง อาจพบชั้นดินเหนียวในตอนล่างของหน้าตัด และอาจพบชั้นลูกรังในช่วงที่
                       เปลี่ยนจากเนื้อดินหยาบเป็นเนื้อดินละเอียด ค่าปฏิกิริยาดินในสนามส่วนใหญ่เป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12