Page 25 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               18







                       ตารางที่ 5 (ตอ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อำเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3        N         รวม

                                                              95     22,744     1,904   107,656    132,399
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ              53      1,904                1,957
                        หวยทับทัน                             -                              -
                                 เหมาะสมตางๆ (ปลูกจริง)            (0.23%)  (100.00%)             (1.48%)

                                                              95     22,691                         22,786
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                        (100.00%)  (99.77%)                       (17.21%)
                                                                    121,764      335    149,502    271,601
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน       -
                                                                  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         อุทุมพร พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ     -       346       335          -       681
                          พิสัย   เหมาะสมตางๆ (ปลูกจริง)           (0.28%)  (100.00%)             (0.25%)

                                                                    121,418                        121,418
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ       -                    -         -
                                                                   (99.72%)                       (44.70%)
                                                         242,009  2,056,392   223,689  2,417,362  4,939,453
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   88,836   233,254   34,073       -   356,163
                         จังหวัด  เหมาะสมตางๆ (ปลูกจริง)   (36.71%)  (11.34%)  (15.23%)          (7.21%)

                                                         153,173  1,823,138                      1,976,311
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                        (63.29%)  (88.66%)                       (40.01%)


                               ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
                       ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว

                                  เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวา พื้นที่ที่ควรพิจารณา
                       ใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 1,257,573 ไร และ
                       บริเวณที่ปลูกมันสำปะหลัง (S3) 93,415 ไร (ตารางที่ 6)
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30