Page 27 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               20







                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให
                       เกษตรกรปลูกยางพาราตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผล
                       ผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนำไปสูการตอยอดโครงการที่

                       สำคัญตาง ๆ ได เชน ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยำ เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกยางพารา
                       ในที่ดินที่ไมมีขอจำกัดทางกายภาพตอการปลูกยางพาราซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกยางพาราที่

                       สำคัญของจังหวัด โดยกระจายอยูในอำเภอกันทรลักษ อำเภอขุนหาญ และอำเภอกันทรารมย เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกยางพาราในที่ดิน
                       ที่มีขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกยางพารา เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรด
                       เปนดางและแหลงน้ำ โดยกระจายอยูในอำเภอกันทรลักษ อำเภอกันทรารมย และอำเภอขุนหาญ เปนตน

                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกยางพารา
                       มีตนทุนที่ต่ำ และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                           2.3  มันสำปะหลัง
                               มันสำปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจหลักของศรีสะเกษในลำดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก

                       หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 ถึง 11)

                             1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง
                               ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 40,987 ไร คิดเปนรอยละ 0.82 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอเมืองศรีสะเกษ 9,469 ไร อำเภอราษีไศล 7,728 ไร และ
                       อำเภอหวยทับทัน 6,754 ไร)

                               ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 175,389 ไร คิดเปนรอยละ
                       3.55 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอเมืองศรีสะเกษ 35,081 ไร อำเภอราษีไศล 27,926 ไร
                       และอำเภอกันทรารมย 26,344 ไร

                               ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 847,933 ไร คิดเปนรอยละ
                       17.16 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอกันทรลักษ 275,458 ไร อำเภอขุนหาญ 133,111 ไร
                       และอำเภอกันทรารมย 119,299 ไร
                               ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 3,875,156 ไร

                             2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน

                       ไดดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 942 ไร คิดเปนรอยละ 2.30 ของพื้นที่ศักยภาพสูง พบมาก
                       อยูในอำเภอเมืองจันทร 420 ไร อำเภอขุนหาญ 200 ไร และอำเภอหวยทับทัน 142 ไร
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32