Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 20
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
13
(2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 233,254 ไร คิดเปนรอยละ 11.34 ของพื้นที่
เหมาะสมปานกลาง พบมากอยูในอำเภอกันทรลักษ 93,194 ไร อำเภอขุนหาญ 40,530 ไร และอำเภอภูสิงห
37,397 ไร เปนตน
(3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) เนื้อที่ 34,073 ไร คิดเปนรอยละ 15.23 ของพื้นที่
เหมาะสมเล็กนอย พบมากอยูในอำเภอกันทรลักษ 11,194 ไร อำเภอเบญจลักษ 4,332 ไร อำเภอภูสิงห
3,470 ไร เปนตน
(4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 213 ไร
3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแตไมใชพื้นที่ปลูก
พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพารา
ในชั้นความเหมาะสมตางๆ (ปลูกจริง) พบวา จังหวัดศรีสะเกษมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความ
เหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 1,976,311 ไร โดยกระจายอยูทั่วทุกอำเภอ
โดยอำเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอกันทรารมย 277,074 ไร อำเภอกันทรลักษ
252,899 ไร อำเภอขุขันธ 174,010 ไร และอำเภอขุนหาญ 151,416 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
(1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 153,173 ไร คิดเปนรอยละ 63.29 ของ
พื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอำเภอกันทรลักษ 34,870 ไร อำเภอกันทรารมย 31,023 ไร และอำเภอขุขันธ
29,300 ไร
(2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 1,823,138 ไร ไร คิดเปนรอยละ
88.66 ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอำเภอกันทรารมย 246,051 ไร อำเภอกันทรลักษ
218,029 ไร และอำเภอเมืองศรีสะเกษ 150,084 ไร