Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 28
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
21
(2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 15,181 ไร คิดเปนรอยละ 8.66 ของพื้นที่
ศักยภาพปานกลาง พบมากอยูในอำเภอบึงบูรพ 2,948 ไร อำเภอภูสิงห 2,388 ไร และ
อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ 1,426 ไร
(3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 163,370 ไร คิดเปนรอยละ 19.27 ของพื้นที่
ศักยภาพเล็กนอย พบมากอยูในอำเภอกันทรลักษ 62,402 ไร อำเภอภูสิงห 24,791 ไร และ
อำเภอขุนหาญ 18,803 ไร
(4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 3 ไร
3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันสำปะหลังแตไมใชพื้นที่ปลูก
พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง และพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังใน
ชั้นความเหมาะสมตางๆ (ปลูกจริง) พบวา จังหวัดศรีสะเกษมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความ
เหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 200,253 ไร โดยกระจายอยูทั่วทุกอำเภอ
โดยอำเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอเมืองศรีสะเกษ 43,283 ไร รองลงมา ไดแก
อำเภอราษีไศล 34,851 ไร อำเภอยางชุมนอย 27,899 ไร และอำเภอขุนหาญ 8,861 ไร ตามลำดับ
โดยมีรายละเอียดดังนี้
(1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 40,045 ไร คิดเปนรอยละ 97.70 ของพื้นที่
ศักยภาพสูง พบมากในอำเภอเมืองศรีสะเกษ 9,430 ไร อำเภอราษีไศล 7,712 ไร และอำเภอหวยทับทัน
6,613 ไร
(2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 160,208 ไร คิดเปนรอยละ 91.34
พื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอำเภอเมืองศรีสะเกษ 33,853 ไร อำเภอราษีไศล 27,139 ไร และ
อำเภอกันทรารมย 25,872 ไร