Page 38 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครราชสีมา
P. 38
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
31
ตารางที่ 7 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
190,933 64,823 86,805 342,561
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
หนองบุญ พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - 28,490 15,531 - 44,021
มาก เหมาะสมต่างๆ (ปลูกจริง) (14.92%) (23.96%) (12.85%)
162,443 162,443
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(85.08%) (47.42%)
23 148,736 391 182,327 331,477
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 23 64,470 391 64,884
ห้วยแถลง -
เหมาะสมต่างๆ (ปลูกจริง) (100.00%) (43.35%) (100.00%) (19.57%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - 84,266 - - 84,266
(56.65%) (17.04%)
32,529 4,857,771 925,932 4,847,415 10,663,647
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 1,266 753,473 177,599 305 932,643
จังหวัด เหมาะสมต่างๆ (ปลูกจริง) (3.89%) (15.51%) (19.18%) (0.01%) (8.75%)
31,263 4,104,298 4,135,561
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(96.11%) (84.49%) (38.78%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงานคือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 482,998 ไร่
พื้นที่ปลูกยางพารา (S3) 59,031 ไร่ และพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (S3) 9,844 ไร่ (ตารางที่ 8)