Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดชัยภูมิ
P. 21
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
14
ตารางที่ 5 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อําเภอ ประเภทพื้นที่ รวม
S1 S2 S3 N
274,762 114,016 161,558 550,336
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 94,247 30,415 169 124,831
หนองบัวแดง -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (34.30%) (26.68%) (0.10%) (22.68%)
180,515 180,515
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(65.70%) (32.80%)
131,427 37,166 66,068 234,661
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 4,054 687 4 4,745
หนองบัวระเหว -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (3.08%) (1.85%) (0.01%) (2.02%)
127,373 127,373
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(96.92%) (54.28%)
22,264 2,987,117 491,015 1,711,598 5,211,994
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 2,386 771,324 162,332 2,716 938,758
รวมทั้งจังหวัด
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (10.72%) (25.82%) (33.06%) (0.16%) (18.01%)
19,878 2,215,793 2,235,671
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(89.28%) (74.18%) (42.89%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงาน คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 510,968 ไร่
และพื้นที่ปลูกยางพารา (S3) 31,229 ไร่ (ตารางที่ 6)