Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2








                               (1) สันดินริมน้ํา (Levee) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                       เล็กนอย ดินลึก เนื้อดินรวนหยาบ สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดิน
                       เชียงใหม (Cm)
                             2) ที่ราบตะกอนน้ําพา (Alluvial plain) เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลของแมน้ํา/ลําน้ําสาขา

                       พบตอเนื่องจากที่ราบน้ําทวมถึง วัตถุตนกําเนิดดินเปนตะกอนน้ําพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เปนที่
                       ราบเปนขั้น ๆ แตละขางอาจมีตะพักไดหลายระดับ ประกอบดวย
                               (1) บริเวณตะพักลําน้ําระดับต่ํา (Low terrace) เปนที่ลุม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ
                       ดินลึกมาก เนื้อดินอาจเปนดินเหนียวละเอียด ดินทรายแปงละเอียดหรือดินรวนหยาบ สีเทา สีน้ําตาล

                       ปนเทา สีน้ําตาล มีจุดประสีตาง ๆ ดินมีการระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว เชน ชุดดินสุโขทัย (Skt)
                       ชุดดินลําปาง (Lp) เปนตน
                               (2) บริเวณตะพักลําน้ําระดับกลางและระดับสูง (Middle and High terrace) เปนที่ดอน
                       มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังถึงดินลึกมาก

                       เนื้อดินเปนดินรวนหยาบ ดินรวนละเอียดหรือดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล สีเหลือง
                       สีน้ําตาลปนแดง ไปจนถึงสีแดง ดินมีการระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินแมริม (Mr) ชุดดินแพร
                       (Pae) เปนตน

                               (3) เนินตะกอนน้ําพารูปพัด (Alluvial fan) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ
                       ถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินรวนละเอียดถึงดินทรายแปงละเอียด สีน้ําตาล
                       สีเหลืองจนถึงสีแดง ดินมีการระบายน้ําดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดินกําแพงเพชร (Kp)
                             3) ที่ลาดเชิงเขา (Piedmont) เขา (Hill) ภูเขา (Mountain) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                       ลอนลาดถึงเนินเขา ที่เกิดจากการที่หินผุพังสลายตัวอยูกับที่หรือถูกเคลื่อนยายโดยแรงโนมถวงของโลก

                       เปนระยะทางใกล ๆ และถูกควบคุมดวยลักษณะของโครงสรางทางธรณีวิทยา สวนใหญมีหินที่เปน
                       วัตถุตนกําเนิดดินปะปนใหเห็นทั้งในหนาตัดดินและลอยหนา แบงออกไดตามลักษณะและชนิดของหินดังนี้
                               (1) พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อละเอียดหรือหินในกลุม สวนใหญจะเปนพวก

                       หินดินดาน หินฟลไลต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง เนื้อดินเปนดินเหนียว
                       ละเอียดถึงดินเหนียวปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนแดง สีน้ําตาลปนเหลือง ดินมี
                       การระบายน้ําดี บางบริเวณพบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินวังสะพุง (Ws)
                       ชุดดินลี้ (Li) เปนตน

                               (2) พัฒนาจากกลุมหินอัคนีหรือหินในกลุม ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินรวนปน
                       ชิ้นสวนหยาบมาก สีแดง สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนเหลือง สีน้ําตาลปนแดง ดินมีการระบายน้ําดี อาทิ
                       ชุดดินทาลี่ (Tl)
                               (3) พัฒนาจากหินไรโอไลต ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก

                       สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนเหลือง สีน้ําตาลปนแดง ดินมีการระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินไพศาลี (Phi)
                               (4) พัฒนาจากหินอัคนีชนิดหินแกรนิต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง
                       เนื้อดินเปนดินรวนหยาบถึงดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนแดง ถึงสีแดง ดินมี
                       การระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินบานไร (Bar)
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14