Page 10 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 10
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
3
(5) พัฒนาจากหินบะซอลต/แอนดิไซต ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินเหนียว
ปนชิ้นสวนหยาบมาก สีดํา สีน้ําตาลเขม ดินมีการระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินสบปราบ (So)
4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน เปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 สวนใหญจะเปนภูเขา
เทือกเขาสูง สลับซับซอน ทรัพยากรดินมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่
ซึ่งไดแสดงรายละเอียดของชุดดินที่พบมากของจังหวัดแพร ในภาพที่ 1 – 5
1.5 สภาพการใชที่ดิน
สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดแพร จากฐานขอมูลแผนที่สภาพการใชที่ดินของ
กรมพัฒนาที่ดิน (ตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดแพร
เนื้อที่
ประเภทการใชที่ดิน
ไร รอยละ
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง 146,421 3.59
พื้นที่เกษตรกรรม 1,200,192 29.37
พื้นที่นา 387,607 9.49
พืชไร 437,768 10.70
ไมยืนตน 278,160 6.79
ไมผล 82,392 2.03
พืชสวน 830 0.02
ไรหมุนเวียน 8,845 0.21
ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว 3,196 0.09
สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 696 0.02
เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม 698 0.02
พื้นที่ปาไม 2,645,649 64.74
พื้นที่น้ํา 47,033 1.14
พื้นที่เบ็ดเตล็ด 47,329 1.16
รวม 4,086,624 100.00
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน, 2563
1.6 พื้นที่ชลประทาน
จังหวัดแพรมีเนื้อที่ชลประทาน 277,624 ไร (รอยละ 6.79 ของพื้นที่จังหวัด) กระจายอยูใน
6 อําเภอ มีอางเก็บน้ําที่สําคัญ 5 อาง มีศักยภาพในการเก็บกักน้ําไดรวม 132.43 ลานลูกบาศกเมตร
พื้นที่ชลประทานมีความสําคัญในการพิจารณาเพิ่มศักยภาพการผลิตที่เหมาะสม (ตารางผนวกที่ 2 - 3)