Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                9








                       ตารางที่ 3  (ตอ)

                                                                      เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                           S1        S2        S3         N        รวม

                                                          161,052    163,031     6,802   121,733   452,618
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   123,320   115,766   6,192    19,011   264,289
                         ลาดยาว
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (76.57%)   (71.01%)   (91.03%)   (15.62%)   (58.39%)

                                                           37,732    47,265         -         -     84,997
                                 พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                          (23.43%)   (28.99%)                      (18.78%)
                                                          268,010     3,029     60,064   160,222   491,325
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   236,767   2,602    49,741    17,133   306,243
                        หนองบัว
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (88.34%)   (85.90%)   (82.81%)   (10.69%)   (62.33%)

                                                           31,243       427         -         -     31,670
                                 พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                          (11.66%)   (14.10%)                      (6.45%)

                                                         2,275,433   567,107   321,044   2,200,259   5,363,843
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   1,871,498   355,396   236,292   120,924   2,584,110
                         จังหวัด  เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (82.25%)   (62.67%)   (73.60%)   (5.50%)   (48.18%)

                                                          403,935   211,711         -         -    615,646
                                 พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                         (17.75%)   (37.33%)                      (11.48%)

                                ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก

                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่จะ
                       ปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวได คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกออยโรงงาน (S3) 100,500 ไร พื้นที่ปลูก
                       มันสําปะหลัง (S3) 52,058 ไร และพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว (N) 18,937 ไร แตเนื่องจากนโยบายของ

                       คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการขาวตองการรักษาดุลภาพผลผลิตขาว ดังนั้น จึงควรพิจารณา
                       ปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลองกับความตองการของตลาด (ตารางที่ 4)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21