Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               11








                         2.2  ออยโรงงาน
                              จังหวัดนครสวรรค มีพื้นที่เพาะปลูกออยโรงงานอยูในลําดับตน ๆ ของประเทศ เนื่องจาก
                       มีโรงงานแปรรูป (โรงงานน้ําตาล) ที่ใหญที่สุดในระดับประเทศ ตั้งอยูในเขตจังหวัด และมีการสงเสริม
                       ใหเกษตรกรเพาะปลูกรวมกันระหวางภาคราชการและเอกชน ทั้งในเรื่องของการใชพันธุดี และปฏิบัติดูแลพันธุ

                       ที่ใชในการเพาะปลูก จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูล
                       ไดดังนี้ (ตารางที่ 5 ภาพที่ 8 - 9)
                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 79,609 ไร คิดเปนรอยละ 1.48 ของพื้นที่

                       ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอบรรพตพิสัย 62,071 ไร อําเภอชุมแสง 12,098 ไร และ
                       อําเภอเกาเลี้ยว 2,946 ไร
                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,558,864 ไร คิดเปนรอยละ
                       29.07 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอตากฟา 222,662 ไร อําเภอตาคลี

                       213,350 ไร และอําเภอแมวงก 201,409 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 775,783 ไร คิดเปนรอยละ
                       14.47 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอไพศาลี 139,031 ไร อําเภอพยุหะคีรี

                       121,059 ไร และอําเภอแมวงก 88,308 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,948,198 ไร
                              2)  การวิเคราะหพื้นที่ปลูกออยโรงงานในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ไดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 24,638 ไร คิดเปนรอยละ 30.95 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอบรรพตพิสัย 23,611 ไร อําเภอเกาเลี้ยว 1,002 ไร และอําเภอแมเปน 10 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 606,044 ไร คิดเปนรอยละ 38.88 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอตาคลี 137,647 ไร อําเภอตากฟา 109,135 ไร และ

                       อําเภอพยุหะคีรี 90,049 ไร
                                (3)  พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 262,825 ไร คิดเปนรอยละ 33.88 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอพยุหะคีรี 78,108 ไร อําเภอตาคลี 44,977 ไร และ
                       อําเภอบรรพตพิสัย 30,413 ไร

                                (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 291 ไร
                              3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกออยโรงงานแตยังไมใชพื้นที่
                       ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกออยโรงงาน และพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
                       ในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดนครสวรรคมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ

                       ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 1,007,791 ไร กระจายอยูใน
                       อําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเกาเลี้ยว 952,820 ไร
                       รองลงมาไดแก อําเภอเมืองนครสวรรค 155,260 ไร และอําเภอแมเปน 133,994 ไร โดยมี
                       รายละเอียดดังนี้
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23