Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5








                              จังหวัดนครสวรรค มีพื้นที่พืชเศรษฐกิจสําคัญที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรก ไดแก ขาว ออยโรงงาน
                       มันสําปะหลัง และขาวโพดเลี้ยงสัตว (ตารางที่ 2)

                       ตารางที่ 2  พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรกของจังหวัดนครสวรรค

                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ขาว                        2,584,110                     55.05

                             2. ออยโรงงาน                    893,798                     19.04
                             3. มันสําปะหลัง                  557,570                     11.88
                             4. ขาวโพดเลี้ยงสัตว            229,467                      4.89

                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564
                         2.1  ขาว

                              ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดนครสวรรค จากสภาพพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุม
                       มีความเหมาะสมในการปลูกขาว จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online
                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)

                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 2,275,433 ไร คิดเปนรอยละ 42.42
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอทาตะโก 395,055 ไร อําเภอบรรพตพิสัย
                       339,436 ไร และอําเภอชุมแสง 283,455 ไร

                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 567,107 ไร คิดเปนรอยละ
                       10.57 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอลาดยาว 163,031 ไร อําเภอแมวงก
                       56,745 ไร และอําเภอไพศาลี 56,315 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 321,044 ไร คิดเปนรอยละ 5.99

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอไพศาลี 70,911 ไร อําเภอตาคลี 68,292 ไร และ
                       อําเภอหนองบัว 60,064 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,200,259 ไร
                              2)  การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้

                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,871,498 ไร คิดเปนรอยละ 82.25 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง กระจายตัวมากอยูในอําเภอทาตะโก 360,432 ไร อําเภอบรรพตพิสัย 279,222 ไร และ
                       อําเภอชุมแสง 257,248 ไร

                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 355,396 ไร คิดเปนรอยละ 62.67 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอลาดยาว 115,766 ไร อําเภอไพศาลี 53,883 ไร และ
                       อําเภอแมวงก 30,913 ไร
                                (3)  พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 236,292 ไร คิดเปนรอยละ 73.60 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอไพศาลี 66,167 ไร อําเภอหนองบัว 49,741 ไร และ

                       อําเภอตาคลี 35,379 ไร
                                (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 120,924 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17