Page 8 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครสวรรค์
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                1








                       1. ขอมูลทั่วไป


                              จังหวัดนครสวรรคมีพื้นที่ 9,597.677 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,998,548 ไร ตั้งอยูในภาคเหนือของ
                       ประเทศไทย ประกอบดวย 15 อําเภอ 130 ตําบล (ตารางผนวกที่ 1) มีจํานวนประชากร 1,040,308 คน
                       (กรมการปกครอง, 2563)

                         1.1  อาณาเขตติดตอ
                              ทิศเหนือ      ติดตอ  จังหวัดพิจิตรและจังหวัดกําแพงเพชร

                              ทิศใต        ติดตอ  จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดชัยนาท และจังหวัดลพบุรี
                              ทิศตะวันออก  ติดตอ  จังหวัดเพชรบูรณ
                              ทิศตะวันตก    ติดตอ  จังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี

                         1.2  ภูมิประเทศ

                              สภาพภูมิประเทศของจังหวัดนครสวรรค เปนที่ราบประมาณ 3 ใน 4 ของพื้นที่จังหวัด สูงจากระดับ
                       ทะเลปานกลางเฉลี่ย 28 เมตร มีแมน้ําสายสําคัญ ไดแก แมน้ําปง แมน้ํายม และแมน้ํานาน ไหลมารวมกัน
                       เปนแมน้ําเจาพระยา ไหลผานตอนกลางของจังหวัด สภาพพื้นที่เปนที่ราบลุมแมน้ําที่มีลักษณะคลายทอง
                       กระทะ ดานทิศตะวันออกมีลักษณะเปนลอนลูกคลื่น ดานตะวันตกมีภูเขาสลับซับซอน และเปนปาทึบ

                         1.3  ภูมิอากาศ

                              สภาพภูมิอากาศของจังหวัดนครสวรรคไดรับอิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือตั้งแต
                       กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ ทําใหอากาศหนาวเย็นและแหงแลง และมรสุมตะวันตกเฉียงใต
                       ชวงเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ทําใหอากาศชุมชื้นและมีฝนตกโดยทั่วไป มีอุณหภูมิเฉลี่ย 26-28
                       องศาเซลเซียส ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,000-1,200 มิลลิเมตรตอป ี

                         1.4  ทรัพยากรดิน

                              ทรัพยากรดินของจังหวัดนครสวรรค แบงตามภูมิสัณฐาน ลักษณะทางธรณีวิทยา และ
                       วัตถุตนกําเนิดดิน ไดดังนี้
                              1)  ที่ราบน้ําทวมถึง (Flood plain) ที่ราบริมแมน้ําหรือลําธาร หนาฝน มักมีน้ําทวมเปนครั้งคราว
                       เปนสภาพพื้นที่ที่เกิดจาการทับถมของตะกอนน้ําพา และมีตะกอนเพิ่มมากขึ้นหลังน้ําทวม แบงเปน

                                (1) สันดินริมน้ํา (Levee) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                       เล็กนอย เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําพาบริเวณริมฝงแมน้ํา เปนสันนูนขนานไปกับริมฝงแมน้ํา ดินลึก
                       เนื้อดินรวนหยาบ สีน้ําตาลและน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดินเชียงใหม (Cm)
                                (2) สวนต่ําของสันดินริมน้ํา (Lower part of levee) เปนดินลุม มีสภาพพื้นที่คอนขาง

                       ราบเรียบ ดินลึกมาก เนื้อดินรวนหยาบถึงดินทรายแปงละเอียด สีเทาและน้ําตาลปนเทา การระบายน้ํา
                       คอนขางเลว อาทิ ชุดดินสรรพยา (Sa)
                                (3) ที่ลุมหลังสันดินริมน้ํา (Back swamp, basin) เปนที่ลุมน้ําขังอยูระหวางสันดินริมน้ํา
                       กับตะพักลําน้ําหรือดานขางหุบเขา ดินมีการระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว เนื้อดินละเอียด เชน ชุดดิน

                       บางมูลนาก (Ban) ชุดดินสิงหบุรี (Sin) เปนตน
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13