Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2








                               (2) ที่ลุมหลังสันดินริมน้ํา (Back swamp, basin) เปนที่ลุมน้ําขังอยูระหวางสันดินริมน้ํากับ
                       ตะพักลําน้ําหรือดานขางหุบเขา การระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว ดินลึกมาก เนื้อดินเหนียวละเอียด
                       สีเทาและน้ําตาลปนเทา การระบายน้ําเลว อาทิ ชุดดินบางระกํา (Brk)
                             2) ที่ราบตะกอนน้ําพา (Alluvial plain) เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลของแมน้ําหรือลําน้ําสาขา

                       วัตถุตนกําเนิดดินเปนตะกอนน้ําพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบขนาดใหญสองฝงแมน้ํา
                       แตละฝงอาจมีที่ราบแบบขั้นบันไดหรือตะพักไดหลายระดับ แบงเปน
                               (1) ตะพักลําน้ําระดับต่ํา (Low terrace) เปนที่ลุม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก
                       เนื้อดินอาจเปนดินเหนียวละเอียดถึงดินทรายแปงละเอียด สีเทา น้ําตาลปนเทา และน้ําตาล มีจุดประ

                       สีตาง ๆ การระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว เชน ชุดดินพิษณุโลก (Psl) ชุดดินสุโขทัย (Skt) เปนตน
                               (2) ตะพักลําน้ําระดับกลางและระดับสูง (Middle and high terrace) เปนที่ดอน มี
                       สภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปนดิน
                       รวนหยาบ ดินรวนละเอียดหรือดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล เหลือง น้ําตาลปนแดง

                       ไปจนถึงแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินแมริม (Mr) ชุดดินเชียงคาน (Ch) เปนตน
                               (3) เนินตะกอนน้ําพารูปพัด (Alluvial fan) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึง
                       ลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินรวนหยาบถึงดินทรายแปงละเอียด สีน้ําตาล เหลือง

                       จนถึงแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินกําแพงเพชร (Kp) ชุดดินดงยางเอน (Don) เปนตน
                             3) ที่ลาดเชิงเขา (Piedmont) เขา (Hill) ภูเขา (Mountain) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                       ลอนลาดถึงเนินเขา ที่เกิดจากการที่หินผุพังสลายตัวอยูกับที่หรือถูกเคลื่อนยายโดยแรงโนมถวงของโลก
                       ในระยะทางใกล ๆ และถูกควบคุมดวยลักษณะของโครงสรางทางธรณีวิทยา สวนใหญพบหินปะปนใน
                       หนาตัดดินและลอยหนา แบงตามลักษณะและชนิดของหินดังนี้

                               (1) พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อหยาบหรือหินในกลุม สวนใหญเปนหินทราย
                       และหินควอรตไซต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง เนื้อดินเปนดินรวนหยาบถึง
                       ดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง น้ําตาลปนแดง จนถึงแดง การระบายน้ําดี

                       พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินทายาง (Ty) ชุดดินลาดหญา (Ly) เปนตน
                               (2) พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อละเอียดหรือหินในกลุม สวนใหญเปน
                       หินดินดานและหินฟลไลต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง เนื้อดินเปนดินเหนียว
                       ละเอียดถึงดินเหนียวปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง และน้ําตาลปนเหลือง การระบายน้ําดี

                       พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินวังสะพุง (Ws) ชุดดินลี้ (Li) เปนตน
                               (3) พัฒนาจากกลุมหินอัคนีหรือหินในกลุม ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินรวนปน
                       ชิ้นสวนหยาบมาก สีแดง น้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดี อาทิ
                       ชุดดินแกงคอย (Kak)

                               (4) พัฒนาจากหินอัคนีชนิดหินแกรนิต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้น เนื้อดินเปนดิน
                       รวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง ถึงแดง การระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินทับเสลา (Tas)
                             4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน เปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 สวนใหญจะเปน

                       ภูเขาและเทือกเขาสูงสลับซับซอน ทรัพยากรดินมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14