Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               10







                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน ทําการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา
                       โดยพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                           2.2  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                  ขาวโพดเลี้ยงสัตวพืชเศรษฐกิจหลักของลําปางในลําดับที่ 2 มีการเพาะปลูกกระจายไป

                       ทุกอําเภอในจังหวัดลําปาง จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถ
                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)
                                    1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                          ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 87 ไร คิดเปนรอยละ 0.004
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน อยูในอําเภอเมืองลําปาง 87 ไร

                                          ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 546,346 ไร คิดเปน
                       รอยละ 26.76 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองลําปาง 139,404 ไร
                       อําเภอหางฉัตร 69,086 ไร และอําเภอเถิน 58,771 ไร
                                          ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 815,824 ไร คิดเปนรอยละ

                       39.95 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองลําปาง 134,895 ไร อําเภอเถิน
                       117,071 ไร และอําเภอแมทะ 98,632 ไร
                                          ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 679,773 ไร
                                    2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความ
                       เหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 20 ไร คิดเปนรอยละ 22.99 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       อยูในอําเภอเมืองลําปาง 20 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 29,842 ไร คิดเปนรอยละ 5.46 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอวังเหนือ 5,976 ไร อําเภอเมืองลําปาง 5,472 ไร และ

                       อําเภอแมทะ 4,469 ไร
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 76,975 ไร คิดเปนรอยละ 9.44 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายอยูในอําเภอแมทะ 19,065 ไร  อําเภอวังเหนือ 15,454 ไร และอําเภอ
                       เมืองลําปาง 8,789 ไร

                                     (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 30,687 ไร

                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตยังไมใช
                       พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปลูกขาวโพด
                       เลี้ยงสัตว ในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดลําปางมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 516,571 ไร กระจายอยูในอําเภอตาง ๆ

                       โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองลําปาง 133,999 ไร รองลงมาไดแก
                       อําเภอหางฉัตร 68,097 ไร อําเภอเถิน 57,792 ไร และอําเภอแมทะ 44,608 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                       (1)  พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 67 ไร คิดเปนรอยละ 77.01 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบในอําเภอเมืองลําปาง 67 ไร
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22