Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                5







                         2.1  ขาว
                                ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดลําปางลําดับที่1 สวนใหญเกษตรกรจะเพาะปลูกเพื่อบริโภค
                       ในครัวเรือนที่เหลือสวนนอยจึงจะจําหนาย จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online
                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)

                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 174,652 ไร คิดเปนรอยละ 8.26
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอําเภอเมืองลําปาง 66,138 ไร อําเภอเกาะคา 27,768 ไร และ
                       อําเภอแมทะ 16,138 ไร

                                     ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 295,335 ไร คิดเปนรอยละ
                       13.96 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอําเภองาว 39,098 ไร อําเภอวังเหนือ 38,644 ไร และ
                       อําเภอเมืองลําปาง 33,255 ไร
                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 184,590 ไร คิดเปนรอยละ

                       8.73 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอําเภอเถิน 34,823 ไร อําเภอเมืองลําปาง 30,957 ไร
                       และอําเภอหางฉัตร 23,648 ไร
                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,460,869 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 96,989 ไร คิดเปนรอยละ 55.53 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายอยูในอําเภอเมืองลําปาง 41,115 ไร  อําเภอเกาะคา 21,480 ไร และอําเภอแจหม 9,093 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 166,667 ไร คิดเปนรอยละ 56.43 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายอยูในอําเภอวังเหนือ 26,309 ไร อําเภองาว 24,983 ไร และอําเภอแมทะ

                       23,742 ไร
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 184,580 ไร คิดเปนรอยละ 32.34 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพเล็กนอย กระจายอยูในอําเภอเถิน 34,823 ไร อําเภอเมืองลําปาง 30,957 ไร และ

                       อําเภอหางฉัตร 23,648 ไร
                                     (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 122,584 ไร
                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาว และพื้นที่ปลูกขาวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ

                       (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดลําปางมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความ
                       เหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 206,331 ไร กระจายอยูทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอที่มีพื้นที่
                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองลําปาง 45,232 ไร อําเภอเถิน 19,316 ไร อําเภองาว
                       16,246 ไร และอําเภอแมทะ 15,837 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 77,663 ไร คิดเปนรอยละ 44.47 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอเมืองลําปาง 25,023 ไร อําเภอแมทะ 7,649 ไร และอําเภอแมเมาะ 7,094 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 128,668 ไร คิดเปนรอยละ 43.57
                       ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอเมืองลําปาง 20,209 ไร อําเภองาว 14,115 ไร และอําเภอ

                       วังเหนือ 12,335 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17