Page 10 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 10
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
3
4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน เปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 สวนใหญเปนภูเขา
เทือกเขาสูงสลับซับซอน ทรัพยากรดินมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่
1.5 สภาพการใชที่ดิน
สภาพการใชประโยชนที่ดินปจจุบันของจังหวัดลําปาง จากฐานขอมูลแผนที่สภาพการใชที่ดิน
ของกรมพัฒนาที่ดิน (ตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดลําปาง
เนื้อที่
ประเภทการใชที่ดิน
ไร รอยละ
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง 313,663 4.03
พื้นที่เกษตรกรรม 1,783,321 22.74
นาขาว 613,964 7.84
พืชไร 633,418 8.08
ไมยืนตน 384,693 4.91
ไมผล 100,205 1.26
พืชสวน 2,847 0.04
ไรหมุนเวียน 38,909 0.49
ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว 7,220 0.09
พืชน้ํา 14 -
สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 1,129 0.02
เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม 922 0.01
พื้นที่ปาไม 5,474,802 69.88
พื้นที่แหลงน้ํา 110,140 1.40
พื้นที่เบ็ดเตล็ด 151,800 1.95
รวมทั้งหมด 7,833,726 100.00
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน, 2564
1.6 พื้นที่ชลประทาน
จังหวัดลําปางมีเนื้อที่ชลประทาน 190,443 ไร (รอยละ 2.43 ของพื้นที่จังหวัด) กระจายอยูใน
10 อําเภอ มีอางเก็บน้ําที่สําคัญ 30 อาง มีศักยภาพในการเก็บกักน้ําไดรวม 400.036 ลานลูกบาศกเมตร
พื้นที่ชลประทานมีความสําคัญในการพิจารณาเพิ่มศักยภาพการผลิตที่เหมาะสม (ตารางผนวกที่ 2 - 3)
1.7 เขตปฏิรูปที่ดิน
เขตปฏิรูปที่ดินในพื้นที่จังหวัดลําปางมีเนื้อที่ 150,654 ไร (รอยละ 5.35 ของพื้นที่จังหวัด)
โดยอําเภอที่มีพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินมากที่สุด ไดแก อําเภอแมทะ อําเภอเถิน และอําเภอวังเหนือ
ตามลําดับ (ตารางผนวกที่ 4)