Page 11 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                4







                         1.8  การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
                             จากฐานขอมูลทะเบียนเกษตรกรของกรมสงเสริมการเกษตร จังหวัดลําปางมีการขึ้นทะเบียน
                       เกษตรกรผูปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวทั้งหมดในป 2563 จํานวน 91,554 ราย รวมพื้นที่ 597,657 ไร และ
                       กิจกรรมที่มีพื้นที่ปลูกมาก ไดแก ขาวนาป ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลังโรงงาน ลําไย ตามลําดับ

                       (ตารางผนวกที่ 5)
                             ทะเบียนเกษตรพืชสมุนไพร จากฐานขอมูลกลาง (Farmer One) ของสํานักงานเศรษฐกิจ
                       การเกษตร เกษตรกรไดขึ้นทะเบียนปลูกพืชสมุนไพรในจังหวัดลําปาง พื้นที่   280.37 ไร เกษตรกร
                       50 ราย มีพืชสมุนไพรหลัก 16 ชนิด  สมุนไพรที่มีการปลูกมาก ไดแก ดีปลี ไพล และมะแขวน

                       ตามลําดับ (ตารางผนวกที่ 6)

                         1.9  ที่ตั้งโรงงานและแหลงรับซื้อสินคาเกษตร
                             จังหวัดลําปางมีแหลงรับซื้อสินคาเกษตรและสหกรณการเกษตรที่สําคัญจํานวน 48 แหง และ
                       ที่ตั้งโรงงานทางการเกษตร 100 แหง โดยมีที่ตั้งสหกรณการเกษตรมากที่สุด 32 แหง (ตารางผนวกที่ 7)

                       2. การวิเคราะหพืชเศรษฐกิจหลัก


                           พืชเศรษฐกิจที่สําคัญพิจารณาจากพืชที่มีพื้นที่ปลูกมากและมีมูลคาการสงออกหรือแปรรูป
                       โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ ประกาศพืชเศรษฐกิจ 13 ชนิดพืช ไดแก ขาว มันสําปะหลัง ยางพารา
                       ปาลมน้ํามัน ออยโรงงาน ขาวโพดเลี้ยงสัตว สับปะรดโรงงาน ลําไย เงาะ ทุเรียน มังคุด มะพราว และกาแฟ
                       จากพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจดังกลาว กรมพัฒนาที่ดิน ไดกําหนดระดับความเหมาะสมของพื้นที่ปลูก
                       รายจังหวัด โดยวิเคราะหจากสภาพพื้นที่ ลักษณะของดิน ปริมาณน้ําฝน แหลงน้ําชลประทาน รวมกับ

                       การจัดการพื้นที่และลักษณะรายพืช โดยแบงระดับความเหมาะสม เปน 4 ระดับ ไดแก
                           ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง
                           ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง แตพบ

                       ขอจํากัดบางประการซึ่งสามารถบริหารจัดการได
                           ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีขอจํากัดของดินและน้ํา สงผลใหการผลิตพืช
                       ใหผลตอบแทนต่ํา การใชพื้นที่ตองใชตนทุนสูงในการจัดการ และมีความเสี่ยงจากน้ําทวมและขาดน้ํา
                           ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N)

                         จังหวัดลําปาง มีพื้นที่พืชเศรษฐกิจสําคัญที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรก ไดแก ขาว ออยโรงงาน มันสําปะหลัง
                       และขาวโพดเลี้ยงสัตว (ตารางที่ 2)


                       ตารางที่ 2  พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรกของจังหวัดลําปาง

                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ขาว                          570,820                     32.01
                             2. ขาวโพด                       137,521                      7.72

                             3. มันสําปะหลัง                   48,625                      2.73
                             4. ยางพารา                         30,731                     1.72
                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16