Page 40 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงราย
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               33







                       เนนการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑในพื้นที่ที่มีความ
                       เหมาะสมปานกลางใหมากขึ้น โคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และปลูกยางพาราทดแทนในพื้นที่
                       เดิม และมีการพัฒนาตลาดและชองทางจัดจําหนายใหมากขึ้น โดยเนนการแปรรูปยาง หรือ

                       ไมยางพาราเพิ่มมากขึ้นซึ่งอาจเนนจากชุมชนที่เขมแข็งเปนพื้นที่ตนแบบ
                             3) พื้นที่ปลูกยางพาราในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร

                       ยังคงใชที่ดินปลูกยางพาราอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา
                       กระทรวงเกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสงเสริมใหมีการโคน

                       ยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และหาพืชอื่นทดแทน เชน สงเสริมใหปลูกไมผล มะพราว ไผหวาน
                       มันสําปะหลัง ยาสูบ แตงโม พืชไร และพืชผักตาง ๆ ทดแทน ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูก

                       พืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตพืชผัก บริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการ
                       ปรับเปลี่ยนการผลิต (Zoning by Agri-Map) เปนตน และจัดหาตลาดใหกับเกษตรกร โดยอาจเริ่ม
                       จากตลาดชุมชน

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกยางพารา แตปจจุบันเกษตรกร
                       ไมไดใชพื้นที่ปลูกยางพารา พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ออยโรงงาน ขาวโพดเลี้ยงสัตว มัน

                       สําปะหลัง เปนตน ในสวนนี้ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจถึงสถานการณดานการเกษตรในปจจุบัน
                       โดยเฉพาะยางพาราเปนพืชที่มีนโยบายลดพื้นที่ปลูกเนื่องจากมีปริมาณผลผลิตมากสงผลใหราคาตกต่ํา

                       แตในอนาคตถาราคาดีและตลาดมีความตองการเพิ่มมากขึ้นอาจอาจสนับสนุนใหเกษตรกรกลับมา
                       ปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกลาว

                           4.4  ลําไย

                             1) พื้นที่ปลูกลําไยที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกลําไยอยู มีเนื้อที่
                       48,531 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอเทิง อําเภอพญาเม็งราย อําเภอแมสรวย ตามลําดับ ทั้งนี้โดย

                       คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิต
                       ลําไยที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ําชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุลําไย โดยรวม
                       กลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน

                       มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคาและการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural
                       Practices: GAP) จะชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบํารุงดิน

                             2) พื้นที่ปลูกลําไยที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกลําไยอยู มีเนื้อที่
                       61,158 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอเทิง อําเภอพาน อําเภอเมืองเชียงราย ตามลําดับ เกษตรกร

                       ยังคงปลูกลําไยไดผลดี น้ําเปนสิ่งจําเปนตอการเจริญเติบโตของลําไย การผลิตลําไยเพื่อใหไดคุณภาพตอง
                       มีน้ําในปริมาณที่เพียงพอตลอดฤดูกาล นอกจากนี้ควรทําการศึกษาคุณสมบัติของน้ําและวิธีการจัดการ

                       น้ําที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสําหรับการผลิตลําไย การสนับสนุนดานการชลประทาน จะสรางความมั่นใจ
                       ใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45