Page 37 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงราย
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               30







                       จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรไดหลายชนิด เชน กระชายดํา ขมิ้นชัน
                       บัวบก เปนตน

                             กระชายดํา เปนพืชที่ชอบที่รม ดินรวนซุยหรือดินปนทรายที่มีการระบายน้ําไดดี ชอบอากาศ
                       หนาวเย็น เกษตรกรสามารถปลูกกระชายดําแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน และมีรายได
                       ระหวางรอพืชเศรฐกิจหลักใหผลผลิต โดยพื้นที่จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกกระชายดํา

                       ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 280,123 ไร กระจายอยูในอําเภอเชียงของ อําเภอเมืองเชียงราย
                       อําเภอเชียงแสน อําเภอเทิง อําเภอขุนตาล อําเภอเวียงชัย อําเภอพญาเม็งราย อําเภอดอยหลวง
                       อําเภอแมลาว อําเภอแมจัน อําเภอเวียงเชียงรุง อําเภอแมสาย อําเภอเวียงแกน อําเภอพาน อําเภอปาแดด
                       อําเภอแมฟาหลวง และอําเภอแมสรวย


                                    ขมิ้นชัน เปนพืชปลูกงาย ชอบแสงแดดจัด และมีความชื้นสูง ชอบดินรวนซุย มีการระบาย
                       น้ําดี ไมชอบน้ําขัง เกษตรกรสามารถปลูกขมิ้นชันแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน และมี
                       รายไดระหวางรอการเติบโตของยางพาราหรือลําไย โดยพื้นที่จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูก
                       ขมิ้นชันที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 344,311 ไร กระจายอยูในอําเภอเชียงของ อําเภอเมือง
                       เชียงราย อําเภอเชียงแสน อําเภอเทิง อําเภอขุนตาล อําเภอเวียงชัย อําเภอพญาเม็งราย อําเภอดอย

                       หลวง อําเภอแมลาว อําเภอแมจัน อําเภอเวียงเชียงรุง อําเภอแมสาย อําเภอเวียงแกน อําเภอพาน อําเภอ
                       ปาแดด อําเภอแมฟาหลวง อําเภอแมสรวย และอําเภอเวียงปาเปา

                             บัวบก เปนพืชลมลุกขนาดเล็ก มีอายุหลายป ปลูกงายเลื้อยยาวไปตามดิน แตกรากตามขอใบ
                       ชอบขึ้นในพื้นที่ที่ชื่นแตไมแฉะมากหรือน้ําทวมขัง โดยมากจะขึ้นตามใตตนไมใหญหรือทองรองในสวน
                       และตามคันนา ขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ดหรือตัดแยกไหลที่มีตนออนและรากนําไปปลูกในที่ที่มี

                       แสงแดดพอควรก็จะเจริญเติบโตไดดี โดยพื้นที่จังหวัดเชียงราย มีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกบัวบกที่
                       ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 194,019 ไร กระจายอยูในอําเภอเชียงของ อําเภอเมืองเชียงราย
                       อําเภอเชียงแสน อําเภอเทิง อําเภอขุนตาล อําเภอเวียงชัย อําเภอพญาเม็งราย อําเภอดอยหลวง

                       อําเภอแมลาว อําเภอแมจัน อําเภอเวียงเชียงรุง อําเภอแมสาย อําเภอเวียงแกน อําเภอพาน
                       อําเภอแมฟาหลวง และอําเภอแมสรวย

                       4  แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1  ขาว

                             1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 846,779
                       ไร กระจายอยูทั่วทุกอําเภอ มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอเมืองเชียงราย อําเภอเชียงของ อําเภอพาน

                       โดยตั้งอยูในเขตชลประทาน ทั้งนี้คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใช
                       ที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ําชลประทาน การ
                       จัดการดิน ปุย พันธุขาว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและ

                       ตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการ
                       ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP)  และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง

                       การปลูกพืชหลังนาจะชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบํารุงดิน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42