Page 39 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงราย
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               32







                       โครงสรางของดิน ในพื้นที่ดังกลาวควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการระบบน้ํา เชน ชลประทาน
                       จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และ
                       พื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม

                       เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิด
                       อื่น ทั้งนี้หากขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยัง

                       สามารถกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดอีก
                             3) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน

                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา
                       ผลผลิตต่ํา ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสราง

                       ที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม และ
                       ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการ
                       พื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว แตปจจุบัน
                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูก

                       เปนพืชไร เชน ขาว ถาในอนาคตขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                       ไดเหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอาจเปนเรื่องยาก

                       ดังนั้นอาจสงเสริมในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน ทําการเกษตรแบบผสมผสาน แตทั้งนี้ตอง
                       พิจารณาตนทุนการผลิตและการตลาดรวมดวย

                         4.3  ยางพารา

                             1) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู มีเนื้อที่
                       47,093 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอเวียงเชียงรุง อําเภอดอยหลวง อําเภอเมืองเชียงราย

                       ตามลําดับ ตามมาตรการยุทธศาสตรยางพาราระยะ 20 ป ( พ.ศ. 2560- 2579)  เนนใหมีการเพิ่ม
                       ผลผลิตยางพาราตอไรตอป ภายในป 2579 นั้น ควรมีการจัดการที่เหมาะสมในเรื่องตาง ๆ ไดแก การ
                       คัดเลือกพันธุใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และตานทานโรค การปรับปรุงบํารุงดิน การใสปุยที่ถูกตอง

                       และมีประสิทธิภาพ การปลูกพืชแซมและพืชคลุมดินใหเหมาะสมเพราะมีผลตอการเจริญเติบโตของ
                       ยางพารา การบํารุงรักษา การใสปุย การตัดแตงกิ่ง และเทคนิคการกรีดยางใหมีปริมาณน้ํายางสูงมี

                       คุณภาพและตรงตามมาตรฐาน เนนการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูป
                       ผลิตภัณฑในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง และสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่มีความเขมแข็ง

                       มีการบริหารงานแบบมืออาชีพและสามารถถายทอดกิจการใหกับคนรุนใหม
                             2) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู

                       มีเนื้อที่ 45,841 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอเวียงปาเปา อําเภอเวียงเชียงรุง อําเภอเวียงชัย
                       ตามลําดับ เกษตรกรยังคงปลูกยางพาราไดผลดี ควรสนับสนุนใหมีเพิ่มผลผลิตยางพารา โดยเนนการ
                       จัดการที่เหมาะสมในเรื่องตาง ๆ เชนเดียวกันกับพื้นที่เหมาะสมสูง โดยเฉพาะการปรับปรุงบํารุงดิน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44