Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงใหม่
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5







                              จังหวัดเชียงใหม มีพื้นที่พืชเศรษฐกิจสําคัญที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรก ไดแก ขาว ลําไย
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตว และยางพารา (ตารางที่ 2)


                       ตารางที่ 2  พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรกของจังหวัดเชียงใหม

                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ขาว                          481,102                     15.38
                             2. ลําไย                         405,928                     12.98

                             3. ขาวโพดเลี้ยงสัตว             80,187                      2.56
                             4. ยางพารา                        14,949                      0.48
                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564


                         2.1  ขาว
                              ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดเชียงใหม สภาพพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุม มีความเหมาะสม

                       ในการปลูกขาว จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้
                       (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)
                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 443,793 ไร คิดเปนรอยละ 17.75

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอสันกําแพง 62,177 ไร อําเภอดอยสะเก็ด
                       50,089 ไร และอําเภอแมอาย 45,413 ไร
                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 286,082 ไร คิดเปนรอยละ
                       11.44 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพราว 36,183 ไร อําเภอฝาง 32,175 ไร

                       และอําเภอสันปาตอง 28,262 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 26,621 ไร คิดเปนรอยละ 1.06
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมแจม 3,881 ไร อําเภอแมออน 2,924 ไร
                       และอําเภอจอมทอง 2,852 ไร เปนตน

                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,713,748 ไร
                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 243,833 ไร คิดเปนรอยละ 54.94 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       สูง กระจายตัวมากอยูในอําเภอสันกําแพง 40,809 ไร อําเภอแมอาย 36,483 ไร และอําเภอ  ดอย

                       สะเก็ด 34,380 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 177,105 ไร คิดเปนรอยละ 61.91 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอพราว 31,801 ไร อําเภอฝาง 26,381 ไร และ

                       อําเภอเชียงดาว 10,660 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17