Page 10 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงใหม่
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                3







                                (6)  พัฒนาจากหินอัคนีชนิดหินแกรนิต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกมาก
                       เนื้อดินเปนดินรวนหยาบถึงดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง ถึงแดง
                       มีการระบายน้ําดี เชน ชุดดินบานไร (Bar) ชุดดินเชียงแสน (Se) เปนตน
                                (7)  พัฒนาจากหินบะซอลต/แอนดิไซต ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินเหนียวปน

                       ชิ้นสวนหยาบมาก สีดําและน้ําตาลเขม มีการระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินโคกปรือ (Kok)
                                (8) พัฒนาจากหินไมกาชีสตหรือหินไนส ดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินเหนียวละเอียด
                       สีแดงและแดงปนน้ําตาล มีการระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินดอยปุย (Dp)
                              4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน เปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 สวนใหญเปนภูเขา

                       เทือกเขาสูงสลับซับซอน ทรัพยากรดินมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่
                              ซึ่งไดแสดงรายละเอียดของชุดดินที่พบมากของจังหวัดเชียงใหมในภาพที่ 1 - 5

                         1.5  สภาพการใชที่ดิน
                              สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดเชียงใหม จากฐานขอมูลแผนที่สภาพการใชที่ดิน

                       ของกรมพัฒนาที่ดิน (ตารางที่ 1)
                       ตารางที่ 1  สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดเชียงใหม


                                                                                   เนื้อที่
                                    ประเภทการใชที่ดิน
                                                                           ไร               รอยละ
                            พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง                   531,516                4.24

                            พื้นที่เกษตรกรรม                             3,128,175               24.88
                                พื้นที่นา                                  570,777                4.54

                                พืชไร                                     921,673               28.32
                                ไมยืนตน                                    67,873               0.53
                                ไมผล                                      897,056                7.12

                                พืชสวน                                     108,536                0.87
                                ไรหมุนเวียน                               545,391                4.35
                                ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว    12,429               0.03

                                พืชน้ํา                                          29                   -
                                สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา                    3,727               0.03
                                เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม                       684                0.01

                            พื้นที่ปาไม                                8,573,048               68.22
                            พื้นที่น้ํา                                    134,885                1.08

                            พื้นที่เบ็ดเตล็ด                               199,287                1.58
                                          รวม                             12,566,911            100.00
                       ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน, 2563
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15