Page 14 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวสังข์หยด จังหวัดพัทลุง
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         4



                                  ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคที่จะศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑปุยชีวภาพ

                       สําหรับนาขาวตอการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวสังขหยด ซึ่งเปนขาวพันธพื้นเมืองของพัทลุง เพื่อเปน
                       ขอมูลและแนวทางใหแกเกษตรกรในการลดตนทุนการผลิตขาวตอไป


                                                           วัตถุประสงค

                       1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑปุยชีวภาพสําหรับนาขาวตอการเจริญเติบโตและผลผลิตขาว
                       สังขหยด จ.พัทลุง


                                                        การตรวจเอกสาร

                                  ในธรรมชาติสวนตางๆ ของพืชทั้งใบ ลําตน และราก มีจุลินทรียอาศัยอยูจํานวนมากและ

                       หลากหลายสายพันธุ มีทั้งชนิดที่อาศัยรอบผนังเซลลพืช ภายในเซลลพืช หรือแมกระทั้งภายในทอน้ํา
                       ทออาหารพืช โดยสวนใหญจะอยูอาศัยกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน (hardoim et al., 2008) โดยมีหลาย

                       สายพันธุที่มีประสิทธิภาพสูงในการตรึงไนโตรเจนจากอากาศใหเปนประโยชนแกพืชได เชน

                       Pseudomonas sp. Burkholderia sp. และ Azorhizobium sp. เปนตน (jame et al., 2002) ซึ่ง
                       แบคทีเรียเหลานี้จะมีประโยชนอยางมากในระบบการเกษตร โดยเฉพาะชวยลดตนทุนการใชปุยเคมี

                       ไนโตรเจนใหแกเกษตร ดังนั้นถาสามารถแยกและคัดเลือกจุลินทรียกลุมดังกลาวไดและนํามา

                       ประยุกตใชในการผลิตขาวจะเปนประโยชนอยางมากแกเกษตรกร
                                  แบคทีเรียเอนโดไฟท (endophytic  bacteria)  เปนแบคทีเรียที่ใชชีวิตทั้งหมดหรือบาง

                       ชวงอยูในเนื้อเยื่อพืช แลวใหประโยชนแกพืชอาศัยโดยไมทําอันตรายหรือกอใหเกิดโรคแกพืช เปน

                       แบคทีเรียที่อาศัยอยูภายในเนื้อเยื่อของพืชที่มีความสัมพันธที่ใกลชิดกับพืช และไดรับประโยชนในแงมี
                       การแขงขัน แยงแหลงคารบอนหรืออาหารนอย และพืชอาศัยชวยปองกันสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม

                       ใหแกแบคทีเรีย (Reinhold-Hurek and Hurek, 1998)

                                  แบคทีเรียเอนโดไฟทตรึงไนโตรเจน (nitrogen fixing endophytic bacteria) ปจจุบันมี

                       การศึกษาเอนโดไฟติกแบคทีเรียในพืช โดยใชวิธีทางชีววิทยาระดับโมเลกุล พบวามีความหลากหลาย
                       ทางสปชีสของเอนโดไฟติกแบคทีเรียในพืช และยังพบวาเอนโดไฟติกแบคทีเรียชวยสงเสริมการ

                       เจริญเติบโตของพืชและผลผลิต ยับยั้งจุลินทรียสาเหตุโรคพืช ละลายฟอสเฟต และยังชวยหาไนโตรเจน
                       ในรูปที่เปนประโยชนใหกับพืช (assimilable  nitrogen) (de Matos  Nogueira et al.,  2001)

                       ตัวอยาง เอนโดไฟติกแบคทีเรียที่ทําหนาที่ในการใหไนโตรเจนแกพืช ไดแก Serratiamarcesens อาศัย

                       อยูในชองวางระหวางเซลลพืช (Jame et al., 2000; Ladha et al., 1995) และ aerenchyma ของ
                       ราก ใบ และลําตนขาว (Gyaneshwar et al., 2001) นอกจากนี้ยังพบวา มีเอนโดไฟติกแบคทีเรียบาง

                       กลุมชวยในการกระตุนการเจริญเติบโตของพืชได โดยชวยใหพืชหลั่ง phytohormones ไปสูพื้นผิวราก

                       ทําใหเพิ่มการดูดซึมธาตุอาหาร โดยมีรายงานวา Herbaspirillumseropedicae Z67 (James et al.,
                       2002), Herbaspirillum sp.  B501 (Zakria et  al.,2007), Serratia  marcescensIRBG500
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19