Page 13 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวสังข์หยด จังหวัดพัทลุง
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         3



                                                       หลักการและเหตุผล

                                  ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญมีอาชีพการเกษตร โดยภาพรวม

                       มีพื้นที่ในการเกษตรทั้งหมด 132.49 ลานไร เปนพื้นที่ปลูกขาวในป 2556/2557 77.13 ลานไร ผลผลิต

                       รวม (นาปและนาปรัง) 36.76 ลานตัน พื้นที่ปลูกขาวในภาคใต 1.19 ลานไร ผลผลิตรวม (นาปและนา
                       ปรัง) 0.55 ลานตัน สําหรับจังหวัดพัทลุงมีพื้นที่ปลูกขาว 208,753 ไร ผลผลิตรวม (นาปและนาปรัง)

                       100,346 ตัน แตใหผลผลิตโดยเฉลี่ยนาปและนาปรัง 480 กิโลกรัมตอไร (สํานักงานสถิติการเกษตร,

                       http://www.oae.go.th/economicdata/secondrice57.html  (สืบคนวันที่ 20 ส.ค.2559)  โดย
                       ปจจัยในการเพิ่มผลผลิตขาวที่เกษตรกรใช คือ ปุยเคมี จึงทําใหเกษตรกรใชปุยเคมีเพิ่มมากขึ้นเพื่อการ

                       เรงการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิต ถึงแมในปจจุบันเกษตรกรจะมีความรูความเขาใจในการใชปุยเคมี
                       มากขึ้น โดยใชปุยตามคําแนะนําของนักวิชาการเกษตรทําใหมีปริมาณการใชปุยลดลง แตราคาตอหนวย

                       ของปุยเคมีในปจจุบันสูงขึ้นทําใหตนทุนในการผลิตของเกษตรกรยังคงสูงขึ้นเรื่อยๆ

                                  “ขาวสังขหยด”  ถือเปนขาวพันธุพื้นเมืองของจังหวัดพัทลุง ที่มีการปลูกและเปนที่นิยม

                       มานานหลายชั่วอายุคน ขาวสังขหยดจะมีลักษณะที่แตกตางจากขาวพันธุอื่น คือมีความไวตอชวงแสง
                       ไมตอบสนองตอปุยเคมี มีคุณคาทางโภชนาการสูง เหมาะสําหรับผูนิยมบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ กรม

                       วิชาการเกษตรไดประกาศออกหนังสือรับรองพันธุพืช ขึ้นทะเบียนชื่อพันธุ   “ขาวสังขหยดพัทลุง”

                       เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 และในปตอมาก็ไดดําเนินการเสนอคําขอขึ้นทะเบียนเปนสินคาสิ่ง
                       บงชี้ทางภูมิศาสตรเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2549 ตามพระราชบัญญัติคุมครองสิ่งบงชี้ทาง

                       ภูมิศาสตร พ.ศ. 2546  ตอกรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย  โดยใชชื่อสินคาวา “ขาวสังข
                       หยดเมืองพัทลุง” และศูนยวิจัยขาวพัทลุงก็ไดเสนอขอมูลทางวิชาการประกอบการพิจารณา เพื่อเปน

                       พันธุแนะนําทางราชการ เพื่อที่จะสงเสริมใหเกษตรกรปลูกตอไป  ซึ่งผานการรับรองจากกรมการขาว
                       และกรมวิชาการเกษตร โดยใชชื่อวา“ขาวเจาพันธุสังขหยดพัทลุง”เมื่อวันที่ 23 เมษายนพ.ศ. 2550

                       (http://ptl.brrd.in.th/web/images/stories/news/s_yod1.pdf. (สืบคน 20 ส.ค.2559)

                                  ขณะที่ในระบบนิเวศวิทยานาขาว มีจุลินทรียที่เปนประโยชนอาศัยอยูจํานวนมากและ

                       หลากหลายสายพันธุ ทั้งที่อยูในดินและสวนตางๆ ของพืชทั้งใบ ลําตน และราก มีทั้งชนิดที่อาศัยอยูใน
                       ดินรอบผนังเซลลพืช ภายในเซลลพืช หรือแมกระทั้งภายในทอน้ําทออาหารพืช โดยสวนใหญจะอยู

                       อาศัยกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน (hardoim et al., 2008) โดยมีหลายสายพันธุที่มีประสิทธิภาพสูงในการ

                       ตรึงไนโตรเจนจากอากาศ ละลายซิลิเกตในดิน และสรางสารเสริมการเจริญเติบโตที่เปนประโยชนแก
                       พืช เชน Pseudomonas sp. Burkholderia sp. และ Azorhizobium sp. เปนตน (jame et al.,

                       2002) ซึ่งแบคทีเรียเหลานี้จะมีประโยชนอยางมากในระบบการเกษตร โดยเฉพาะชวยลดตนทุนการใช
                       ปุยเคมีใหแกเกษตร ซึ่งถาสามารถแยกและคัดเลือกจุลินทรียกลุมดังกลาวไดและนํามาประยุกตใชใน

                       การผลิตขาวจะเปนประโยชนอยางมากแกเกษตร
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18