Page 50 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัดต่อการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดสงขลา Effect of bio-organic fertilizers on change for soil properties in sandy soils to increase sweet corn yield at Songkhla province.
P. 50
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
44
เศรษฐกิจในการปลูกข้าวโพดหวาน เท่ากับ 31,400.70 , 30,947.00 และ 30,889.60 บาท/ไร่ ตามล าดับ และ
ต ารับที่ 2 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับน ้าหมักชีวภาพ พด.2 ให้ผลตอบแทนทาง
เศรษฐกิจในการปลูกข้าวโพดหวานน้อยที่สุด เท่ากับ 28,334.14 บาท/ไร่
จากการทดลองทั้ง 2 ปี จะเห็นได้ว่าผลตอบแทนเศรษฐกิจในการปลูกข้าวโพดในปีที่ 2 มี
แนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการทดลองปีที่ 1 ทุกต ารับการทดลอง ซึ่งเพิ่มขึ้นเฉลี่ยเท่ากับ 36.46 เปอร์เซ็นต์ โดยใน
ต ารับที่ 6 ที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) และน ้าหมักชีวภาพ
พด.2 พบว่า ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในการปลูกข้าวโพด มีค่าเพิ่มขึ้นมากที่สุด เท่ากับ 62.22 เปอร์เซ็นต์
(ตารางที่ 14-16 และภาพที่ 8)
ตารางที่ 14 ผลตอบแทนเศรษฐกิจในการปลูกข้าวโพด (บาท/ไร่) ในปีที่ 1 และ 2
ผลตอบแทนเศรษฐกิจในการปลูกข้าวโพด
การเพิ่มขึ้น
ต ารับที่ (บาท/ไร่)
เฉลี่ยปีที่ 1 เฉลี่ยปีที่ 2 (เปอร์เซ็นต์)
1 18,793.34 28,867.40 34.90
2 16,008.14 28,334.14 43.50
3 23,243.34 30,947.00 24.89
4 26,623.00 30,889.60 13.81
5 12,102.40 30,235.74 59.97
6 12,161.60 32,191.34 62.22
7 20,791.40 30,747.00 32.38
8 25,119.34 31,400.70 20.00
ค่าเฉลี่ย 19,355.32 30,451.62 36.46
หมายเหตุ : ns ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
* มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ
ค่าเฉลี่ยที่ก ากับด้วยตัวอักษรที่ต่างกันในคอลัมน์เดียวกันมีความแตกต่างกันทางสถิติ
1/