Page 9 - การตอบสนองของปาล์มน้ำมันต่อเถ้าไม้ยางพาราในดินเปรี้ยวจัด
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                             3




                                                        หลักการและเหตุผล

                          ปัจจุบันประเทศไทยมีการใช๎ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง มากเป็นอันดับที่ 4 รองจาก น้ ามันดิบ ถํานหิน
                   และก๏าซธรรมชาติ  การผลิตไฟฟูาจากชีวมวล เชํน ปีกไม๎ยางพารา ทะลายปาล์มเปลํา และไม๎ชิ้นสับ เป็น
                   วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจ านวนมาก จะชํวยลดรายจํายจากการน าเข๎าน้ ามัน และเชื้อเพลิงที่สามารถผลิต
                   ได๎ในประเทศด๎วย  (ณัฐวุฒิ ,2558)  ในจังหวัดสงขลามีโรงงานไฟฟูาชีวมวลจ านวน 8 โรง ใช๎ชีวมวลเศษไม๎

                   ยางพาราในการผลิต  มีก าลังการผลิตคํอนข๎างสูง  85.7 (MW)  ซึ่งจะมีเถ๎าไม๎ยางออกมาเป็นจ านวนมาก
                   (พลังงานจังหวัดสงขลา,2560) การก าจัดเถ๎าไม๎ยางพารานั้นจะฝังกลบ จากปัญหาเถ๎าไม๎ยางเพิ่มมากขึ้นจึง
                   ต๎องหาวิธีการจัดการที่เหมาะสม เถ๎าไม๎ยางพารามีคําความเป็นดํางคํอนข๎างสูง หากมีการสะสมในปริมาณ
                   มากและปลํอยทิ้งไว๎ในดินติดตํอกันเป็นระยะเวลานานจนกลายเป็นมลพิษทางดินได๎ แตํเถ๎าไม๎ยางจากการ

                   เผาไหม๎ โรงงานไฟฟูาชีวมวลนั่นเป็นสารอินทรีย์และอนินทรีย์ ที่มีธาตุอาหารส าหรับพืช  หากน าไปใช๎
                   ประโยชน์โดยน ามาศึกษาสมบัติทางเคมี และชีวภาพเพื่อเป็นสารปรับปรุงบ ารุงดินโดยการใช๎รํวมกับปุ๋ยเคมี
                   จะท าให๎ลดการใช๎ปุ๋ยเคมี เป็นการเพิ่มมูลคําของวัสดุเหลือใช๎ได๎อยํางเหมาะสม นับวําเป็นแนวทางการก าจัด
                   ของเสียและสามารถน าไปใช๎ให๎เกิดประโยชน์ได๎ เป็นทางเลือกใหมํในด๎านการลดต๎นทุนการผลิต และ

                   นโยบายด๎านพลังงานในปัจจุบันของรัฐบาลที่สํงเสริมให๎น าปาล์มน้ ามันไปผํานกระบวนการและผสมกับน้ ามัน
                   ดีเซล เป็นไบโอดีเซล เพื่อชํวยทดแทนการน าเข๎าน้ ามันดีเซลในภาวะขาดแคลนพลังงาน ในปัจจุบันและ
                   อนาคต ดังนั้นกรมพัฒนาที่ดินจึงมีนโยบายในการก าหนดพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันเพิ่มขึ้น 20 ล๎านไรํ เพื่อเพิ่ม

                   ผลผลิตปาล์มน้ ามันให๎เพียงพอตํอความต๎องการในอนาคต และจากนโยบายรัฐบาลที่มุํงเน๎น        ให๎
                   ประเทศไทยเป็นครัวโลกที่มีความมั่นคงทางอาหาร ท าให๎เกิดแนวคิดในการปรับปรุงการใช๎ปุ๋ยเคมี      อยําง
                   เหมาะสมคูํกับการใช๎สารอินทรีย์เพื่อการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงมีนโยบายสํงเสริม     ให๎
                   ลดการใช๎ปุ๋ยเคมีแบบคํอยเป็นคํอยไป โดยการใช๎ปุ๋ยเคมีควบคูํกับการใช๎สารอินทรีย์เพื่อการเกษตร
                   เพื่อให๎เกษตรกรสามารถใช๎ปุ๋ยเคมีได๎อยํางเหมาะสมเป็นการลดต๎นทุนการผลิตในด๎านปัจจัยการผลิต  ฟื้นฟู

                   สภาพดิน อีกทั้งยังสํงผลดีตํอสุขภาพของเกษตรกรและผู๎บริโภคอีกด๎วย  (อรรถ 2548) ประกอบกับภาค
                   การเกษตรไทย ยังมีการผลิตไมํสอดคล๎องกับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด๎านเศรษฐกิจทั้ง
                   ภายในประเทศ และการเชื่อมโยงในระดับโลก มีความไมํสมดุลระหวํางอุปสงค์และอุปทานของสินค๎าบาง

                   ชนิด สํงผลถึงราคาสินค๎าเกษตรที่เกษตรกรได๎รับ สํวนด๎านกายภาพ เกษตรกรยังมีการผลิตตามความเคยชิน
                   สินค๎าเกษตรหลายชนิดจึงถูกผลิตอยูํในพื้นที่เหมาะสมน๎อย หรือไมํเหมาะสม ท าให๎มีต๎นทุนในการผลิตสูงใน
                   ขณะที่ได๎ผลตอบแทนต่ า ขาดศักยภาพในการแขํงขันเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น กระทรวงเกษตรและ
                   สหกรณ์ได๎ผลักดันนโยบายการลดต๎นทุนและเพิ่มโอกาสในการแขํงขัน ซึ่งการบริหารจัดการพื้นที่

                   เกษตรกรรม(Zoning  by  Agri-Map)  จะเป็นเครื่องมือที่ส าคัญในการบรรลุผลตามนโยบายดังกลําว
                   กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได๎ผลักดันนโยบายการลดต๎นทุนและเพิ่มโอกาสในการแขํงขัน ซึ่งการบริหาร
                   จัดการพื้นที่เกษตรกรรม(Zoning  by  Agri-Map)  จะเป็นเครื่องมือที่ส าคัญในการบรรลุผลตามนโยบาย
                   ดังกลําว

                           Zoning by Agri-Map เป็นข๎อมูลพื้นฐานส าคัญในการก าหนดพื้นที่ด าเนินการซึ่งจะให๎ความส าคัญ
                   กับพื้นที่ไมํเหมาะสมส าหรับการปลูกข๎าวในพื้นที่จังหวัดสงขลา และขณะเดียวกันในพื้นที่ซ๎อนทับดังกลําวจะ
                   เหมาะสมส าหรับปลูกพืชชนิดใด ที่จะสํงเสริมให๎เกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิตไปสูํการเกษตรที่มีความ
                   เหมาะสมนั่น ปาล์มน้ ามันเป็นพืชอีกชนิดที่นําสนใจ  และมีความเหมาะสมกับพื้นที่ดังกลําวของจังหวัด

                   สงขลา  โดยพื้นที่ไมํเหมาะสมส าหรับการปลูกข๎าวสํวนใหญํจะมีลักษณะเป็นดินเปรี้ยวจัด แตํปาล์มน้ ามัน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14