Page 12 - การตอบสนองของปาล์มน้ำมันต่อเถ้าไม้ยางพาราในดินเปรี้ยวจัด
P. 12
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
6
การใช๎ปุ๋ยอินทรีย์รํวมกับปุ๋ยเคมี เพื่อชํวยปรับปรุงสมบัติของดินให๎ดีขึ้น เหมาะสมตํอการ
เจริญเติบโตของปาล์มน้ ามัน ปรับปรุงให๎ดินรํวนซุยมีการระบายน้ าระบายอากาศดี อุ๎มน้ าดีขึ้น ชํวยให๎ดินดูดซับ
ธาตุอาหารพืชไว๎ได๎มากขึ้น (ลดการสูญเสียจากการชะล๎าง) และชํวยให๎ดินมีการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดดําง
น๎อยลงรวมทั้งเมื่อปุ๋ยอินทรีย์สลายตัวก็สามารถปลดปลํอยธาตุอาหารตําง ๆ ที่จ าเป็นส าหรับ การ
เจริญเติบโตของพืช ทั้งธาตุอาหารหลัก รองและเสริมออกมาให๎พืชได๎ถึงแม๎จะเป็นปริมาณน๎อยก็ตาม แตํก็
สามารถรํวมกับการใช๎ปุ๋ยเคมีได๎(ธีระ 2548) และจากการใช๎ทะลายเปลําคลุมดินบริเวณโคนต๎นปาล์มน้ ามัน
ตั้งแตํเริ่มปลูกจนกระทั่งปาล์มน้ ามันอายุ 8 ปี ในดินรํวนปนทราย ที่ศูนย์วิจัยปาล์มน้ ามันสุราษฎรธานี ท า
ให๎ผลผลิตทะลายสดเพิ่มขึ้นจาก 2.6 ตันตํอไรํเมื่อไมํใช๎ทะเปลําคลุมดิน เป็น 3.1 ตันตํอไรํ เมื่อมี การ
คลุมดินด๎วยทะลายเปลําปริมาณ 150 กิโลกรัมตํอต๎นตํอปีหรือให๎ผลผลิตเพิ่มขึ้น 19.2 เปอร์เซ็นต์ และมี
แนวโน๎มวําการตอบสนองผลผลิตจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีการใช๎ทะลายเปลําเพิ่มขึ้น(กรมวิชาการเกษตร 2547) สภาพ
สวนปาล์มน้ ามันใหมํไมํสามารถหาทะลายปาล์มเปลําได๎ ปุ๋ยพืชสดเป็นทางเลือกอยํางหนึ่งเนื่องจากสามารถผลิต
ได๎เองในสวนปาล์มใหมํ ไมํต๎องเสียคําขนสํงเหมือนการใช๎ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก ในพื้นที่ 1 ไรํอาจสามารถผลิต
น้ าหนักสดได๎ถึง 6 ตัน ซึ่งจะให๎ธาตุไนโตรเจนสูงสุดถึง 34 กิโลกรัมตํอไรํ(ประชา 2540)
การทดลองการปลูกปาล์มน้ ามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวและดินอินทรีย์ พบวําปาล์มน้ ามันสามารถ
เจริญเติบโตและให๎ผลผลิตได๎ดี โดยเฉพาะวิธีการที่มีการใสํหินปูนฝุุนและหินฟอสเฟตรํวมกับปุ๋ยเคมี ปาล์ม
น้ ามันให๎ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด 4.6 ตันตํอไรํ ในปีที่ 7 ปัจจุบันปาล์มน้ ามันมีอายุ 18 ปี มีผลผลิตเฉลี่ย 3.7 ตันตํอไรํ
ซึ่งถือวําอยูํในเกณฑ์สูงกวําคําเฉลี่ยของประเทศที่ 2.6 ตันตํอไรํ (ชัยวัฒน์ 2548)
ปูนโดโลไมท์ [CaMg(Co3)2] เป็นแรํเกิดจากตะกอนของแคลเซียมและแมกนีเซียมทับถมกัน มีสีตํางๆ
เชํน เทา ชมพู ขาว มีลักษณะคล๎ายแรํคัลไซต์ โดยทั่วไปปูนโดโลไมท์เป็นแรํที่เกิดจากการปะปนมากับหินปูน
ประเภท dolomitic limestone หินโดโลไมท์บดใช๎เป็นวัสดุปูนได๎ดี และนอกจากจะชํวยยกระดับ pH ของดิน
ได๎แล๎วยังเพิ่ม ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชพวกไนโตรเจน ฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียม ซิลิกา
และโมลิบดินัม ชํวยเพิ่มและสํงเสริมกิจกรรมของจุลินทรีย์ดินที่เป็นประโยชน์ตํอพืช ชํวยลดการเกิดโรครากเนํา
โคนเนําของพืช และควบคุมปริมารกรดอินทรีย์ ก๏าซคาร์บอนไดออกไซด์ ความเข๎มข๎นของเหล็ก อะลูมินัม
ตลอดจนสารพิษตํางๆ เชํนไพไรต์ และไฮโดรเจนซัลไฟด์ในสารละลายดิน มิมีการสะสมมากเกินไปจนเป็นพิษ มี
คํา CCE อยูํระหวําง 60-100 % และปูนโดโลไมท์ที่ใช๎ในการปรับปรุงดินควรมีคํา CCE ไมํต่ ากวํา 90 % (เจริญ
และคณะ, 2542) การใช๎ปูนโดโลไมท์รํวมกับปุ๋ยอินทรีย์ (ปุ๋ยหมัก ซุปเปอร์ พด.1, น้ าหมักชีวภาพ ซุปเปอร์ พด.
2) และปุ๋ยเคมี เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของดินให๎มีลักษณะรํวนซุย การระบายน้ าระบายอากาศดี ชํวยดูดซับ
ธาตุอาหารพืชได๎มากขึ้น ลดการสูญเสียจากการชะล๎างธาตุอาหารพืช
เถ๎าไม๎ยางเป็นผลพลอยได๎จากโรงงานไฟฟูาชีวมวล มีคําพีเอช และโพแทสเซียมสูง ซึ่งจากการ
วิเคราะห์ในห๎องปฏิบัติการพบวํา มีคําความเป็นกรดเป็นดําง (pH) 10.8 ธาตุโพแทสเซียมมีปริมาณสูง คือ
ร๎อยละ 5.18 ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสและปริมาณธาตุไนโตรเจน มีปริมาณร๎อยละ 1.56 และ 0.24 ตามล าดับ
ปริมาณอินทรียวัตถุร๎อยละ 8.93 (กลุํมวิเคราะห์ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 12,2560 ) จึงเหมาะแกํการใช๎
เป็นวัสดุปรับปรุงดินเพื่อแก๎ปัญหาดินที่คาดแคลนธาตุอาหารพืช เชํน ดินกรด ดินทรายจัด ดินเปรี้ยวจัด เป็นต๎น
จากการทดลองของ ณัฐวุฒิและคณะ,2558 เรื่องผลของการใช๎เถ๎าไม๎ยางพาราตํอการเจริญเติบโตและ
ผลผลิตข๎าวในดินกรด พบวํากลุํมต ารับที่มีการใสํไม๎ยางพารารํวมกับปุ๋ยเคมีให๎ผลผลิตสูงกวํากลุํมต ารับปุ๋ยเคมี