Page 13 - การตอบสนองของปาล์มน้ำมันต่อเถ้าไม้ยางพาราในดินเปรี้ยวจัด
P. 13
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
7
โดยต ารับที่ใสํปุ๋ยเคมี 25 กก./ไรํ รํวมกับเถ๎าไม๎ยางพารา 1,200 กก./ไรํ ให๎คําผลผลิตสูงสุดและพบวําการใสํเถ๎า
ไม๎ยางพาราท าให๎พีเอชของดินสูงขึ้นรวมทั้งปริมาณธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์มีปริมาณเพิ่มขึ้น
ปริมาณธาตุอาหารในดินที่เหมาะสมในการปลูกปาล์มน้้ามัน
ธาตุอาหาร ปริมาณธาตุอาหารในดิน
ต่้ามาก ต่้า ปานกลาง สูง
pH (1:5 ดิน:น้้า) <0.50 4.00 4.20 5.50
Organic (%) <0.80 1.20 1.50 2.50
Total N <0.80 0.12 0.15 0.25
Total P (mg/kg) <120 200 250 400
Available K (cmol/kg) <8 15 20 25
Exchangeable K (cmol/kg) <0.08 0.20 0.25 0.30
Exchangeable Mg (cmol/kg) <0.08 0.20 0.25 0.30
Available Cu (mg/kg) <4 <5 5 >6
ECEC (cmol/kg) <6 12 15 18
ที่มา : Rankine and Fairhurst (1998)
ปริมาณธาตุอาหารในใบย่อยจากทางใบที่ 17 ของปาล์มน้้ามันอายุต่าง ๆ กัน (ใช้ใบแห้งอบที่ 40 องศา
เซลเซียส)
อายุปาล์ม ธาตุอาหาร ขาด เหมาะสม เกิน
1. ปาล์มเล็ก N (%) < 2.50 2.60-2.90 > 3.10
(ต่้ากว่า 6 ปี) P (%) < 0.15 0.16-0.19 > 0.25
K (%) < 1.00 1.10-1.30 > 1.80
Mg (%) < 0.20 030-04.5 > 0.70
Ca (%) < 0.30 0.50-0.70 > 0.70
S (%) < 0.20 0.25-0.40 > 0.60
Cl (%) < 0.25 0.50-0.70 > 1.00
B (mg/kg) < 8 15-25 > 40
Cu (mg/kg) < 3 5-7 > 15
Zn (mg/kg) < 10 12-18 > 50
หมายเหตุ : mg/kg = ppm และ cmolkg = meg/100g
ที่มา : Rankine and Fairhurst (1998)