Page 10 - การตอบสนองของปาล์มน้ำมันต่อเถ้าไม้ยางพาราในดินเปรี้ยวจัด
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                             4




                   สามารถเจริญเติบโตได๎ และมีการปรับเปลี่ยนไปแล๎วบ๎างบางสํวน  ทั้งนี้หากมีการจัดการดินที่ดีและสามารถ

                   ลดต๎นทุนการผลิตให๎เกษตรกรได๎นั้นจะเป็นทางเลือกหนึ่งที่เกษตรกรจะปรับเปลี่ยนการผลิตตามนโยบาย
                   ของรัฐบาล



                                                           วัตถุประสงค์
                          6.1  เพื่อศึกษาผลของเถ๎าไม๎ยางพาราตํอสมบัติทางเคมีของดิน
                          6.2  เพื่อศึกษาการตอบสนองของปาล์มน้ ามันตํอเถ๎าไม๎ยางพาราและผลของเถ๎าไม๎ยางตํอความ
                   เจริญเติบโตของปาล์มน้ ามัน

                          6.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตปาล์มน้ ามันที่ได๎รับการสนันสนุนจากนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่
                   เกษตรกรรมในจังหวัดสงขลา

                                                         การตรวจเอกสาร

                            ดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรด เป็นดินที่มีการพัฒนาเป็นระยะเวลานานลักษณะความแตกตํางของชั้นดิน

                   เห็นเดํนชัดมากเป็นดินที่เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ ากรํอยหรือตะกอนน้ าทะเลที่มีสารประกอบของธาตุ
                   ก ามะถันปะปนอยูํ เมื่อเกิดกระบวนการทางเคมีจะกลายเป็นแรํไพไรท์ (FeS2) สะสมและเมื่อตะกอนดินที่ทับถม
                   สูงขึ้น น้ าทํวมไมํถึง จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดเป็นกรดก ามะถัน (H2SO4)  ขึ้นในชั้นดินและพบ
                   สารประกอบของจาโรไซท์ ซึ่งมีสีเหลืองฟางข๎าวในชั้นดินด๎วย ในดินเปรี้ยวจัดจะพบหญ๎าประเภท กก กระจูด

                   ขึ้นอยูํทั่วไป และเมื่อขุดลงไปในชั้นดินจะพบคราบสนิมเหล็กในดินและน้ า น้ าในดินเปรี้ยวจัดจะใสและมีรสฝาด
                   (กรมพัฒนาที่ดิน,  2551)  ลักษณะทั่วไปของดินเปรี้ยวจัดที่พบในบริเวณที่ราบลุํม ดินชั้นบนลึกตั้งแตํ 20-40
                   เซนติเมตร เป็นดินเหนียวถึงเหนียวจัด มีสีเทาหรือสีเทาเข๎มถึงด า มีจุดประสีน้ าตาลแกํ สีแดงปนเหลือง และสี

                   แดง มีคําความเป็นกรดเป็นดําง 4.0-5.5 สํวนชั้นดินลํางเป็นดินเหนียวมีสีพื้นเป็นสีน้ าตาล หรือสีน้ าตาลปนเทา
                   ถึงสีเทา มีจุดประสีเหลืองปนสีน้ าตาล สีแดง หรือสีเหลืองฟางข๎าว มีการระบายน้ าเลว ความสามารถในการอุ๎ม
                   น้ าสูง (นงคราญ, 2536)  ซึ่งมีข๎อจ ากัด มักเป็นดินที่มีข๎อจ ากัดของธาตุอาหารพืช พบวําโดยมากจะขาดธาตุ N,
                   P, K, Ca, Mg, S, Cu และ Mo จึงต๎องมีการเพิ่มให๎กับพืช ดินกรดจะมีธาตุที่ละลายได๎ในชํวง pH ต่ าออกมา
                   มากกวําปกติ เชํน อะลูมินัม;เหล็ก เป็นต๎น เมื่อมีการใช๎ปุ๋ยเคมีจึงต๎องใช๎ในอัตราที่สูง เนื่องจากมีธาตุอาหาร

                   บางสํวนถูกตรึงโดยธาตุตํางๆ เชํน ฟอสฟอรัสจะถูกตรึงโดยอะลูมินัม และเหล็ก ปุ๋ยแอมโมเนียมและ
                   โพแทสเซียมก็จะถูกชะล๎างได๎งําย หากมีการใช๎ปุ๋ยเคมีรํวมกับปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมีจะมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
                   เนื่องจากสารอินทรีย์จะจับกับอะลูมินัมและเหล็ก เป็นสารประกอบเชิงซ๎อนลดการตรึงฟอสฟอรัสได๎ในระดับ

                   หนึ่ง นอกจากนี้ปุ๋ยอินทรีย์ยังจับปุ๋ยแอมโมเนียมได๎บางสํวน ท าให๎ลดการสูญเสียการชะล๎างไปได๎บ๎าง (เจริญและ
                   คณะ,  2540)  กลําวได๎วํา ความเป็นพิษของสารประกอบตํางๆ ที่ละลายออกมาในสภาพดินที่เป็นกรดจัด เชํน
                   ความเป็นพิษของอะลูมินัมเมื่อ pH ลดลง 1 หนํวย ปริมาณของอะลูมินัมที่ละลายได๎จะเพิ่มขึ้นเป็น 10 เทํา อะลู
                   มินัมจะสะสมในเนื้อเยื่อของรากพืชยับยั้งการแบํงตัวของเซลล์และเอนไซม์ที่เกี่ยวข๎องกับการสร๎างผนังเซลล์ท า

                   ให๎ระบบรากพืชไมํเจริญเติบโต และความเป็นพิษของธาตุเหล็กจะสํงผลตํอการเจริญเติบโตของพืช ก๏าซ
                   ไฮโดรเจนซัลไฟด์ในดินเปรี้ยวจัดจะท าลายการท างานของระบบรากพืชท าให๎รากเนําหรืออํนแอตํอการเกิดโรค
                   เปูนต๎น (พิสุทธิ์และคณะ, 2536)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15