Page 22 - การตอบสนองของปาล์มน้ำมันต่อเถ้าไม้ยางพาราในดินเปรี้ยวจัด
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                            16




                                         จะเห็นได๎วําทั้ง 2 ปีของการทดลอง ปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีความแตกตํางกันทาง

                   สถิติอยํางมีนัยส าคัญยิ่ง  อยํางไรก็ตามปริมาณอินทรียวัตถุในดินทั้ง 2 ปีมีปริมาณต่ า (Low) (ตารางภาคผนวก
                   ที่ 3)

                   ตารางที่ 5 ปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังการทดลองปีที่ 1และ 2

                                                                               ปริมาณอินทรียวัตถุ (%)
                                   ต ารับการทดลอง                          ปีที่ 1                              ปีที่ 2

                   ต ารับที่ 1 ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎ปูนโดโลไมท์ตาม    5.23d          4.19d
                   ความต๎องการปูน
                   ต ารับที่ 2 วิธีตามค าแนะน าของกรมวิชาการเกษตร        1.99f                   6.50b
                   ต ารับที่ 3    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    4.01e             5.55c
                            ยางพารา ในอัตรา  500 กิโลกรัมตํอไรํ
                   ต ารับที่ 4    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    1.88f             6.91b
                          ยางพารา ในอัตรา  600 กิโลกรัมตํอไรํ
                   ต ารับที่ 5    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    9.42a             7.70a
                          ยางพารา ในอัตรา  700 กิโลกรัมตํอไรํ
                   ต ารับที่ 6  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    6.34c               6.49b
                          ยางพารา ในอัตรา  800 กิโลกรัมตํอไรํ
                   ต ารับที่ 7    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    7.23b             4.02d
                          ยางพารา ในอัตรา  900 กิโลกรัมตํอไรํ
                   ต ารับที่ 8    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    1.60f             4.06d
                          ยางพารา ในอัตรา  1,000 กิโลกรัมตํอไรํ
                                       F-test                              **                      **
                                      CV (%)                              9.64                     7.42
                     หมายเหตุ  ** หมายถึง แตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญยิ่ง (P<0.01)

                                คําเฉลี่ยในคอลัมน์เดียวกันที่ตามด๎วยอักษรเดียวกัน ไมํแตกตํางกันที่ระดับความเชื่อมั่น
                                95% โดยวิธี DMRT

                                  2.2.3   ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P)
                                         ในปีที่ 1  (พ.ศ. 2562)  พบวํา ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินบน (ที่ระดับ
                   ความลึก 0-30  เซนติเมตร) ต ารับที่8  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  1,000

                   กิโลกรัมตํอไรํมีคําเทํากับ107.33    มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม มีความแตกตํางกันทางสถิติอยํางมีนัยส าคัญยิ่ง กับ
                   ต ารับอื่นๆ ซึ่งมีคําแตกตํางกันตามล าดับ รองลงมาคือต ารับที่1 ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎ปูนโดโลไมท์
                   ตามความต๎องการปูน คําเทํากับ 60.33 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม  และต ารับการทดลองที่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น

                   ประโยชน์ต่ าที่สุด คือ ต ารับที่ 7  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  900 กิโลกรัม
                   ตํอไรํ มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์เทํากับ 12.67 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม (ตารางที่6)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27