Page 20 - การตอบสนองของปาล์มน้ำมันต่อเถ้าไม้ยางพาราในดินเปรี้ยวจัด
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                            14




                              2.2   สมบัติทางเคมีของดิน

                                  ท าการเก็บตัวอยํางดินแบบท าลายโครงสร๎างดิน (Disturbed Soil Samples) ทุกปีตลอด 2
                   ปีที่ท าการทดลอง เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสมบัติทางเคมีของดิน ได๎แกํ คําความเป็นกรดเป็นดําง (pH)
                   ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM)  ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available  P)  โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์
                   (Available K) แคลเซียมที่เป็นประโยชน์ (Available Ca) และแมกนีเซียมที่เป็นประโยชน์ (Available Mg) ใน

                   ดิน ผลการวิเคราะห์เป็นดังนี้
                                  2.2.1   ความเป็นกรดเป็นดําง (pH) ของดิน
                                         ในปีที่ 1 (พ.ศ. 2562) พบวํา คําความเป็นกรดเป็นดํางของดินบน (ที่ระดับความลึก
                   0-30 เซนติเมตร) ในต ารับที่ 1 ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎ปูนโดโลไมท์ตามความต๎องการปูน มีคําความ

                   เป็นกรดเป็นดํางสูงที่สุด คือเทํากับ 5.87 มีความแตกตํางทางสถิติอยํางมีนัยส าคัญยิ่งกับ ต ารับการทดลองที่ 2
                   3 4 5 6 7 และ 8 มีคําความเป็นกรดเป็นดํางเทํากับ 3.97 3.63 3.20 3.47 และ 3.60 ตามล าดับ (ตารางที่4)
                                         ในปีที่ 2  (พ.ศ. 2563)  พบวําคําความเป็นกรดเป็นดํางของดินบน (ที่ระดับความลึก
                   0-30 เซนติเมตร) ไมํมีความแตกตํางทางสถิติในแตํละต ารับการทดลอง โดยมีคําอยูํในชํวง 4.03-6.13 ต ารับการ

                   ทดลองที่ 1 ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎ปูนโดโลไมท์ตามความต๎องการปูน และต ารับการทดลองที่ 6  ½
                   ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  800 กิโลกรัมตํอไรํ  มีคําความเป็นกรดเป็นดํางสูงที่สุด
                   คือเทํากับ 6.13 ต ารับการทดลองที่มีคําความเป็นกรดเป็นดํางต่ าที่สุด คือ ต ารับการทดลองที่ ต ารับที่ 7    ½

                   ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  900 กิโลกรัมตํอไรํ  มีคําเทํากับ 4.03 (ตารางที่ 4)
                                         จากการทดลองจะเห็นได๎วําต ารับการทดลองที่  4 5 6 7 และ8 มีการใสํเถ๎าไม๎ยางใน
                   อัตราสํวนที่ตํางกัน สามารถยกระดับ pH ของดิน ได๎ชัดขึ้นในปีที่ 2 (ภาพที่ 1)































                                             ภาพที่ 1 pH ของดินหลังการทดลองในปีที่ 1  และปีที่ 2
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25