Page 21 - การตอบสนองของปาล์มน้ำมันต่อเถ้าไม้ยางพาราในดินเปรี้ยวจัด
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                            15




                   ตารางที่ 4 คําความเป็นกรดเป็นดํางของดินหลังการทดลองปีที่ 1 และ 2


                                                                             ความเป็นกรดเป็นดําง (pH 1:1)
                                   ต ารับการทดลอง                          ปีที่ 1                              ปีที่ 2

                   ต ารับที่ 1  ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎ปูนโดโลไมท์    6.70a             6.13
                          ตามความต๎องการปูน
                   ต ารับที่ 2 วิธีตามค าแนะน าของกรมวิชาการเกษตร        3.97b                    4.57
                   ต ารับที่ 3    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    3.63bc             4.83
                            ยางพารา ในอัตรา  500 กิโลกรัมตํอไรํ
                   ต ารับที่ 4    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    3.20c              5.40
                          ยางพารา ในอัตรา  600 กิโลกรัมตํอไรํ
                   ต ารับที่ 5    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    3.47bc             4.73
                          ยางพารา ในอัตรา  700 กิโลกรัมตํอไรํ
                   ต ารับที่ 6  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    3.60bc               6.13
                          ยางพารา ในอัตรา  800 กิโลกรัมตํอไรํ
                   ต ารับที่ 7    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    3.67bc             4.03
                          ยางพารา ในอัตรา  900 กิโลกรัมตํอไรํ
                   ต ารับที่ 8    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎    3.54bc             4.33
                          ยางพารา ในอัตรา  1,000 กิโลกรัมตํอไรํ
                                       F-test                              **                      ns
                                      CV (%)                              9.08                    20.41
                     หมายเหตุ  ns หมายถึง ไมํแตกตํางกันทางสถิติ

                               ** หมายถึง แตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญยิ่ง (P<0.01)
                                คําเฉลี่ยในคอลัมน์เดียวกันที่ตามด๎วยอักษรเดียวกัน ไมํแตกตํางกันที่ระดับความเชื่อมั่น
                                99% โดยวิธี DMRT

                                  2.2.2   ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM)
                                         ในปีที่ 1 (พ.ศ. 2562) พบวํา  ปริมาณอินทรียวัตถุในดินบน (ที่ระดับความลึก 0-30

                   เซนติเมตร)ในต ารับที่ต ารับที่ 5  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  700 กิโลกรัม
                   ตํอไรํ มีคําเทํากับ 9.42   เปอร์เซ็นต์  มีความแตกตํางทางสถิติอยํางมีนัยส าคัญยิ่ง  ต ารับอื่นๆ  ซึ่งปริมาณ
                   อินทรียวัตถุอยูํในชํวง 1.60 -7.23 เปอร์เซนต์ สํวนต ารับการทดลองที่มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ าที่สุด คือ ต ารับ
                   การทดลองที่ 8    ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  1,000  กิโลกรัมตํอไรํมีคํา

                   เทํากับ 1.06 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 5)
                                         ในปีที่ 2  (พ.ศ. 2563)  ปริมาณอินทรียวัตถุในดินบน (ที่ระดับความลึก 0-30
                   เซนติเมตร) ในต ารับที่ต ารับที่ 5  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  700 กิโลกรัม
                   ตํอไรํ มีคําเทํากับ 7.70   เปอร์เซ็นต์  มีความแตกตํางทางสถิติอยํางมีนัยส าคัญยิ่ง  ต ารับอื่นๆ  ซึ่งปริมาณ

                   อินทรียวัตถุอยูํในชํวง 4.02 -6.91 เปอร์เซนต์ สํวนต ารับการทดลองที่มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ าที่สุด คือ ต ารับ
                   การทดลองที่ ต ารับที่ 7  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  900 กิโลกรัมตํอไรํ มี
                   คําเทํากับ 4.02 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 5)
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26