Page 19 - การตอบสนองของปาล์มน้ำมันต่อเถ้าไม้ยางพาราในดินเปรี้ยวจัด
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                            13




                                                -1
                   รวมต่ าที่สุด คือเทํากับ 0.91 g cm ต ารับการทดลองที่ดินมีความหนาแนํนรวมสูงที่สุด คือ ต ารับการทดลองที่
                   ต ารับการทดลองที่ต ารับที่ 8  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  800 กิโลกรัมตํอไรํ มีคํา
                                   -1
                   เทํากับ 1.25 g cm  (ตารางที่ 7 และตารางภาคผนวกที่ 4)
                              ในปีที่ 2  ของการทดลอง เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของความหนาแนํนรวมของดิน (Bulk
                   density)  ผลการวิเคราะห์ความหนาแนํนรวมของดินพบวํา ไมํมีความแตกตํางทางสถิติในแตํละต ารับการ
                                                       -1
                   ทดลอง โดยมีคําอยูํในชํวง 0.84-1.18 g cm ต ารับที่ ต ารับที่ 4 ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+เถ๎าไม๎ยางพารา
                                                                                              -1
                   ในอัตรา  400 กิโลกรัมตํอไรํ ท าให๎ดินมีความหนาแนํนรวมต่ าที่สุด คือเทํากับ 0.87 g cm ต ารับการทดลอง
                   ที่ดินมีความหนาแนํนรวมสูงที่สุด คือ ต ารับการทดลองที่ ต ารับการทดลองที่ต ารับที่ 8    ½ปุ๋ยเคมีตามคํา
                                                                                       -1
                   วิเคราะห์ดิน+เถ๎าไม๎ยางพารา ในอัตรา  800 กิโลกรัมตํอไรํ มีคําเทํากับ 1.18 g cm ซึ่งมีแนวโน๎มลดลงจากปีที่
                   1
                                  อยํางไรก็ตามจากตารางที่ 7 จะเห็นวําถึงแม๎วําความหนาแนํนรวมของดินไมํมีความแตกตําง
                   ทางสถิติในแตํละต ารับการทดลอง แตํต ารับการทดลองที่มีการใสํเถ๎าไม๎ยางพารารํวมด๎วยนั้นมีแนวโน๎มที่จะท า
                   ให๎ความหนาแนํนรวมของดินลดลง  Gosling and Shepherd (2005) รายงานวํา การเพิ่มอินทรียวัตถุลงในดิน

                   ในรูปแบบตํางๆ เชํน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ สํงผลให๎สมบัติทางด๎านกายภาพของดิน เชํน
                   โครงสร๎างของดิน (Soil  structure)  ความหนาแนํน (Bulk  density)  ความสามารถในการอุ๎มน้ า (Water
                   holding  capacity)  การระบายน้ าและความพรุน (Porosity)  และการซึมผํานของน้ าลงไปในดิน

                   (Permeability)  ของดินดีขึ้น เนื่องจากอินทรียวัตถุที่มีในปุ๋ยอินทรีย์ชํวยท าให๎อนุภาคดินจับตัวกันเป็นก๎อน
                   (Aggregation) ซึ่งการจับตัวเป็นเม็ดของดิน จะมีประโยชน์มากเพราะชํวยให๎ดินรํวนซุยขึ้น ท าให๎สามารถดูดซับ
                   ธาตุอาหารได๎รวดเร็ว และปุ๋ยอินทรีย์มีสมบัติชํวยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินได๎มากกวําปุ๋ยเคมี
                   เนื่องจากปุ๋ยเคมีไมํมีอินทรียวัตถุ (กรมวิชาการเกษตร, 2549)


                   ตารางที่ 3 ความหนาแนํนรวมของดินภายหลังท าการทดลอง

                                                                                                                -1
                                          ต ารับการทดลอง                               ความหนาแนํนรวมเฉลี่ย (g cm )

                                                                                          ปีที่ 1            ปีที่ 2


                ต ารับที่ 1 ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎ปูนโดโลไมท์ตามความต๎องการปูน    0.91          0.99
                ต ารับที่ 2 วิธีตามค าแนะน าของกรมวิชาการเกษตร                            1.08             1.05
                ต ารับที่ 3  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพาราอัตรา  500 กิโลกรัมตํอไรํ   1.09   1.07
                ต ารับที่ 4  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา อัตรา  600 กิโลกรัมตํอไรํ   1.18   0.84
                ต ารับที่ 5  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา อัตรา  700 กิโลกรัมตํอไรํ   1.04   1.09
                ต ารับที่ 6 ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา อัตรา  800 กิโลกรัมตํอไรํ   1.12   0.87
                ต ารับที่ 7  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา อัตรา  900 กิโลกรัมตํอไรํ   1.18   0.88
                ต ารับที่ 8  ½ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน+การใช๎เถ๎าไม๎ยางพารา อัตรา  1,000 กิโลกรัมตํอไรํ   1.25   1.18
                                               F-test                                      ns               ns
                                              CV (%)                                      13.12           12.15


                   หมายเหตุ  ns หมายถึง ไมํแตกตํางกันทางสถิติ
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24