Page 29 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด Study efficiency of Bio- fertilizer to increase growth and rice (Khao Dok Mali 105) yield and sandy loam soil, Roi Et Province.
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



                   ตารางที่ 22 ปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ในดิน ปี 2562-2563 (ปีที่ 2-3)

                                                                 ปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ในดิน (log cell/g.soil)
                                                        Azospirillium   Bacillus    Azospirillium    Bacillus
                             ต ารับการทดลอง
                                                            sp.       megaterium         sp.       megaterium

                                                         หลังเก็บเกี่ยว ปี 2562 (ปีที่ 2)       หลังเก็บเกี่ยว ปี 2563 (ปีที่ 3)
                    T1 ควบคุม                               5.18 ab       5.14 bc        5.59         5.58 b
                    T2 ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน           4.58 c        5.21 ab        5.57         5.70 ab
                    T3 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า                 5.11 ab       5.20 ab        5.56         5.77 a
                    T4 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า+ปุ๋ยเคมี 50 %        5.06 b     5.23 ab      5.70         5.65 ab
                    T5 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า+ปุ๋ยเคมี 70 %        5.21 a     5.12 bc      5.56         5.81 a
                    T6 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง                   5.23 a        5.05 c         5.72         5.67 ab

                    T7 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 50 %       5.20 a    5.30 a         5.75         5.69 ab
                    T8 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 70 %       5.23 a    5.27 a         5.72         5.65 ab
                                  F-test                     **             **            ns            *
                                 C.V. (%)                   0.85          0.82           3.62          1.19
                   หมายเหตุ  :  ns หมายถึง ค่าเฉลี่ยไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ  * หมายถึง ค่าเฉลี่ยมีความแตกต่างกันทางสถิติ
                   อย่างมีนัยส าคัญยิ่ง  ตัวอักษรที่แตกต่างกันในแต่ละคอลัมน์  แสดงความแตกต่างทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
                   โดยวิธี DMRT และ ** หมายถึง ค่าเฉลี่ยมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง  ตัวอักษรที่แตกต่างกันในแต่
                   ละคอลัมน์  แสดงความแตกต่างทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99% โดยวิธี DMRT


                                                     สรุปผลและข้อเสนอแนะ

                         จากการศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ ส าหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวขาว
                   ดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้

                       1. พื้นที่ด าเนินการทดลองปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีลักษณะเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ดินไม่มีความเค็ม
                   แต่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า หลังจากด าเนินการทดลอง พบว่า ดินเกิดการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีในทางที่ดีขึ้น ดิน
                   มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างเพิ่มขึ้น (จากเป็นกรดจัด/กรดแก่ เปลี่ยนแปลงเป็น กรดปานกลาง กรดเล็กน้อย และเป็น
                   กลาง) การน าไฟฟ้าของดินมีค่าต่ า ปริมาณอินทรียวัตถุในดินปริมาณฟอสฟอรัส แคลเซียม และแมกนีเซียมที่เป็น
                   ประโยชน์ในดินมีค่าสูงขึ้น ส่วนโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินมีค่าลดลง
                         2. การเจริญเติบโตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปี 2561-2563 ไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่มีแนวโน้มว่าการใช้
                   ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าว รูปแบบผงแห้งละลายน้ า ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน
                   (ต ารับที่ 7) ท าให้ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปี 2561 ถึง 2563 มีจ านวนต้นต่อกอมากที่สุด
                         3. ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตมีค่าไม่แตกต่างกันทั้ง 3 ปี (ปี 2561-2563) ยกเว้นเฉพาะจ านวนเมล็ดต่อ
                   รวง ปี 2563  มีค่าแตกต่างทางสถิติ ซึ่งในต ารับที่ใช้ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง ร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ ตามค่า

                   วิเคราะห์ดิน (ต ารับที่ 8) มีจ านวนเมล็ดต่อรวงมากที่สุด เท่ากับ 151 เมล็ดต่อรวง เมื่อเทียบกับแปลงควบคุม (ต ารับ
                   ที่ 1)  ซึ่งมีจ านวนเมล็ดต่อรวง เท่ากับ 141  เมล็ดต่อรวง แต่อย่างไรก็ตาม จะเห็นได้ว่าการใส่ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ
                   ส าหรับนาข้าว รูปแบบผงแห้งละลายน้ า ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 และ 70 เปอร์เซ็นต์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน ส าหรับการปลูก
                   ข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด จะช่วยลดต้นทุนค่าปุ๋ยเคมีลงได้ 30-50 เปอร์เซ็นต์
                         4. การใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าว รูปแบบผงแห้งละลายน้ า ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 และ 70 เปอร์เซ็นต์
                   ตามค่าวิเคราะห์ดิน ในต ารับ 7 และ 8 ตามล าดับ ท าให้ดินหลังเก็บเกี่ยวข้าว มีปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ (Azospirillium
                   sp.)  สูง และมีค่าแตกต่างทางสถิติจากการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (ต ารับ 2) ในปี 2562  (ปีที่ 2)  และมีเชื้อ

                   Bacillus megaterium สูงและมีค่าแตกต่างทางสถิติจากแปลงควบคุม (ต ารับ 1 : ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยชีวภาพ) ในปี
                   2563 (ปีที่ 3) ตามล าดับ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34