Page 24 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด Study efficiency of Bio- fertilizer to increase growth and rice (Khao Dok Mali 105) yield and sandy loam soil, Roi Et Province.
P. 24
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ตารางที่ 15 ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในฟางข้าว ปี 2561
ปริมาณธาตุอาหารในฟางข้าว (%)
ต ารับการทดลอง
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
T1 ควบคุม 0.69 0.14 1.72
T2 ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน 0.72 0.13 1.67
T3 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า 0.71 0.14 1.68
T4 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 50 % 0.79 0.12 1.68
T5 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 70 % 0.80 0.15 1.58
T6 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง 0.71 0.14 1.63
T7 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 50 % 0.75 0.14 1.62
T8 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 70 % 0.70 0.12 1.62
F-test ns ns ns
C.V. (%) 6.85 12.50 4.29
หมายเหตุ : ns หมายถึง ค่าเฉลี่ยไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
4.2 ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในฟางข้าว ปี 2562 (ปีที่ 2) พบว่า ไนโตรเจนในฟางข้าว
ไม่มีความแตกต่างกัน แต่ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในฟางข้าว มีค่าแตกต่างกันทางสถิติ โดยมีปริมาณฟอสฟอรัสใน
ดินมากที่สุด เท่ากับ 0.23 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใส่ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า ร่วมกับปุ๋ยเคมี อัตรา 50 เปอร์เซ็นต์ ของค่า
วิเคราะห์ดิน (ต ารับที่ 4) (ตารางที่ 16) ทั้งนี้อาจเกิดจากต ารับดังกล่าวมีสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
รูปแบบน้ า ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตรา 50 เปอร์เซ็นต์ ของค่าวิเคราะห์ดิน (ต ารับที่ 4) ส าหรับโพแทสเซียมในดินมีปริมาณ
สูงสุด เท่ากับ 3.38 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใส่ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า (ต ารับที่ 3) (ตารางที่ 16) ทั้งนี้อาจเกิดจากการใช้ปุ๋ย
ชีวภาพรูปแบบน้ า แต่อย่างไรก็ดี แม้ว่าต ารับที่ 3 และต ารับที่ 4 จะเป็นปุ๋ยชีวภาพที่มีรูปแบบแตกต่างกัน แต่ปุ๋ย
ชีวภาพทั้ง 2 รูปแบบนี้ ประกอบด้วย อะโซสไปริลลัม (Azospirillum sp.) เป็นแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ใน
บริเวณรอบรากพืชที่สามารถตรึงไนโตรเจนได้โดยอิสระ ผลิตฮอร์โมนพืช ส่งเสริมการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช
(พรรณปพร และคณะ, 2563) และมีซิลิเกตแบคทีเรียที่ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช ลดผลกระทบด้าน
ความเครียดต่างๆ (ความแห้งแล้ง ความเค็ม ความเป็นพิษของโลหะหนัก) และเพิ่มกลไกการป้องกันพืช ประกอบกับ
ดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวในต ารับดังกล่าวมีความเป็นกรดปานกลาง กรดเล็กน้อย และเป็นกลาง (ตารางที่ 1) ซึ่ง
ค่า pH ดังกล่าว ท าให้ระดับความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารต่างๆ ในดินเพิ่มขึ้น ช่วยส่งเสริมให้อยู่ในรูปที่ง่าย
ส าหรับพืชที่จะดูดมาใช้ประโยชน์และสะสมในส่วนต่างๆ เช่น ล าต้น