Page 23 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด Study efficiency of Bio- fertilizer to increase growth and rice (Khao Dok Mali 105) yield and sandy loam soil, Roi Et Province.
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



                   ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตรา 70  เปอร์เซ็นต์ของค่าวิเคราะห์ดิน (ต ารับที่ 8) ซึ่งปุ๋ยชีวภาพฯ ประกอบด้วย อะโซสไปริลลัม
                   (Azospirillum  sp.) เป็นแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ในบริเวณรอบรากพืชที่สามารถตรึงไนโตรเจนได้โดยอิสระ

                   ผลิตฮอร์โมนพืช ส่งเสริมการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช (พรรณปพร และคณะ, 2563) และมีซิลิเกตแบคทีเรียที่
                   ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช ลดผลกระทบด้านความเครียดต่างๆ (ความแห้งแล้ง ความเค็ม ความเป็นพิษของ
                   โลหะหนัก) และเพิ่มกลไกการป้องกันพืช จึงท าให้ข้าว ในต ารับดังกล่าวมีจ านวนเมล็ดต่อรวงมากที่สุด

                   ตารางที่ 14 องค์ประกอบผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปี 2563

                                                                     องค์ประกอบผลผลิตข้าว ปี 2563
                             ต ารับการทดลอง
                                                         จ านวนรวง  จ านวนเมล็ด  น้ าหนัก 1000 เมล็ด  เมล็ดดี
                                                           ต่อกอ       ต่อรวง           (กรัม)          %
                    T1 ควบคุม                               6.00        141 abc         28.83         86.33
                    T2 ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน           6.33        137 bc          28.73         87.62
                    T3 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า                 5.67        139 abc         28.43         89.94
                    T4 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 50 %   7.50       145 ab         28.23         86.32
                    T5 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 70 %   6.83       148 ab         28.20         87.05

                    T6 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง                   6.00        128 c           28.73         91.73
                    T7 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 50 %   7.50        140 abc         29.13         86.07
                    T8 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 70 %   7.33        151 a           29.00         89.07
                                   F-test                    ns           *              ns             ns
                                  C.V. (%)                 13.50        5.10            2.04           4.15
                   หมายเหตุ  :  ns หมายถึง ค่าเฉลี่ยไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ และ * หมายถึง ค่าเฉลี่ยมีความแตกต่างกันทาง

                   สถิติอย่างมีนัยส าคัญ ตัวอักษรที่แตกต่างกันในแต่ละคอลัมน์ แสดงความแตกต่างทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
                   โดยวิธี DMRT

                   4. ปริมาณธาตุอาหารในฟางข้าว ปี 2561-2563

                         4.1 ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในฟางข้าว ปี 2561 (ปีที่ 1) มีค่าไม่แตกต่างกัน (ตารางที่
                   15) ทั้งนี้อาจเป็นผลมาจากดินหลังการทดลองในทุกต ารับมีค่า pH ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งค่า pH อยู่ในเกณฑ์เป็น
                   กรดปานกลาง กรดเล็กน้อย และเป็นกลาง (ตารางที่ 1) ซึ่งช่วง pH ดังกล่าว ส่งผลดีต่อระดับความเป็นประโยชน์ของ
                   ธาตุอาหารต่างๆ  ในดิน พืชจึงสามารถดูดซึมไปใช้ได้ง่าย ท าให้มีการสะสมธาตุอาหารดังกล่าวในต้นข้าวได้ดี

                   เช่นเดียวกัน จึงมีปริมาณที่ไม่แตกต่างกัน
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28