Page 121 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 121

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      106


                                                    สรุปผลและขอเสนอแนะ

                          การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน (Soil fertility assessment) โดยใชสมบัติทางเคมีของดินเพื่อ
                   ตรวจสอบคุณภาพดิน (Soil quality) และประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Land use efficiency in
                   agriculture) และการประเมินการชะลางพังทลายของดิน (Soil erosion assessment) โดยใชเทคนิคนิวเคลียร
                   ไอโซโทป ในการวัดอัตราการเคลื่อนยายของดิน (Soil redistribution rates : SRD) โดยใชนิวไคลดกัมมันตรังสี
                                    210
                   ของธาตุตะกั่ว 210 ( Pbex inventories) ซึ่งไดทําการศึกษา ณ ตําบลปลังเผล อําเภอสังขละบุรี จังหวัด
                   กาญจนบุรี
                          ปจจัยที่ตองการศึกษา ประกอบดวย 1) ปจจัยดานพื้นที่ จํานวน 3 แหลง คือ (1) พื้นที่เพาะปลูกพืช
                   ทั่วไปที่ไมมีการวางแผนการจัดการดินที่เหมาสมใด ๆ มีการปลูกขาวโพดหมุนเวียนกับสัปปะรด โดยปลอยหนาดิน
                   ใหโลงในชวงฤดูรอน (2) พื้นที่ปายางพาราที่ไมมีการรบกวนหนาดิน ซึ่งตนยางพาราโดยสวนใหญจะอยูในชวงอายุ
                   ประมาณ 5 ถึง 10 ป เปนตนไป ในขณะที่พื้นที่โดยรอบเปนปาสลับกับพื้นที่แหลงน้ํา และ  พื้นที่เพาะปลูกพืชที่มี
                   การจัดระบบอนุรักษดินและน้ําโดยกรมพัฒนาที่ดิน มีการปลูกพืชแบบหมุนเวียนและแบบผสมผสาน ไดแก
                   ขาวโพด มันสําปะหลัง เผือก กลอย หรือขมิ้นชัน เปนตน 2) ปจจัยดานความลาดชัน แบงเปน 5 ประเภท เรียง

                   จากบริเวณที่อยูต่ําสุดไปถึงสูงสุดที่ทําการศึกษา คือ Toeslope, Footslope, Backslope, Shoulder, และ
                   Summit และ 3) ปจจัยดาน0ระดับความลึกของดิน ประกอบดวย 0-10 เซนติเมตร 10-20 เซนติเมตร และ 20-
                   30 เซนติเมตร โดยจะเก็บตัวอยางดินทั้งสิ้น 3 ซ้ํา (เรียงซาย กลาง ขวา ขวางความลาดเท ใหคลอบคลุมพื้นที่
                   ศึกษา) และทําการเก็บตัวอยางดินใน 3 ชวงเวลา คือ การเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) การเก็บขอมูลครั้งที่
                   2 (เดือนมิถุนายน) และการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) เพราะฉะนั้น ผลการศึกษาจึงสามารถสรุปได ดังนี้

                                                                                                   210
                          1) ชวงเวลาการเก็บตัวอยางดิน มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ pH EC OM P K Mg Ca  Pbex
                   และ SRD โดยเปนผลมาจากความแตกตางกันในดานการจัดการดินของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง และ
                   ปริมาณน้ําฝนที่แตกตางกันในแตละเดือน

                          2) พื้นที่เพาะปลูกพืชที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา มีปริมาณ pH EC OM K Mg และ Ca โดย
                   เฉลี่ยในภาพรวม ที่สูงกวาพื้นที่ศึกษาอื่น ๆ โดยสามารถชะลอการสูญเสียปริมาณธาตุอาหารดังกลาว แมวาจะมี
                   ปริมาณน้ําฝนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในแตละชวงเวลาที่เก็บขอมูล
                          3) ปริมาณ P ในพื้นที่เพาะปลูกพืชทั่วไปและพื้นที่ปายางพารา พบวา มีปริมาณโดยเฉลี่ยสูงกวาพื้นที่
                   เพาะปลูกพืชที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา อีกทั้งในการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) พบวามีการ
                   สูญเสียออกไปจากชั้นหนาตัดดินมากที่สุด ซึ่งเกิดจากการใสปุยของเกษตรกรและเขาสูชวงฤดูกาลที่มีปริมาณฝน
                   เพิ่มขึ้น
                          4) ปจจัยดานความลาดชัน มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ EC OM และ P โดยเฉพาะเมื่อมี

                   ปริมาณน้ําฝนเพิ่มขึ้น สงผลใหมีการชะลางพัดพาความอุดมสมบูรณไหลลงสูที่ต่ํา กลาวคือ พบการสะสมของ
                   ปริมาณดังกลาวโดยเฉลี่ยมากที่สุด ณ บริเวณพื้นที่ต่ําที่สุด โดยเฉพาะพื้นที่เพาะปลูกทั่วไปที่มีความแตกตางกัน
                   ของปริมาณ EC OM และ P มากที่สุด ยกเวนพื้นที่ปายางพาราและพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ ที่สามารถชะลอการ
                   สูญเสียปริมาณ OM ไวไดบาง ตั้งแตเดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม
                          5) ปจจัยดานระดับความลึกของดิน พบวา ปริมาณของ EC OM K Mg Ca มีความแตกตางกันในแตละ
                   ระดับความลึก กลาวคือ พบคาเฉลี่ยของปริมาณดังกลาวในระดับชั้นดินบนมีสูงกวาปริมาณที่พบในระดับชั้นดิน
                   ลาง เกิดจากการจัดการดินของเกษตรกร เชน การใสปุย และการเขตกรรม เปนตน แตเมื่อมีปริมาณน้ําฝนเพิ่มขึ้น
                   กลับพบวาปริมาณ EC OM K Mg Ca ที่อยูในระดับชั้นดินลางมีมากกวาหรือเทียบเทาปริมาณที่อยูบริเวณผิวหนา
                   ดิน โดยเฉพาะพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ ซึ่งเกิดจากการชะลางพัดพาธาตุอาหารดังกลาวในแนวลึกตามชั้นหนาตัด

                   ดิน มากวาการชะลางพัดพาในแนวราบขนานกับผิวหนาดิน
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126