Page 116 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 116

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      101


                          ผลการศึกษาการชะลางพังทลายของดินหรือการสูญเสียหนาดิน (Soil erosion) และการทับถมของ
                   ตะกอนดิน (Soil deposition) หรือที่เรียกรวมกันวาการเคลื่อนยายของดิน (Soil redistribution) ในพื้นที่แนบ
                   ราบหรือแนวขวางพื้นที่ตามสภาพภูมิประเทศ โดยใชเทคนิคนิวเคลียรไอโซโทป ซึ่งไดเลือกนิวไคลดกัมมันตรังสี
                                   210
                   ของธาตุตะกั่ว 210 ( Pbex) เปนตัวแปรหลักในการประเมิน โดยสามารถวิจารณผลการศึกษาได ดังนี้
                          อัตราการเคลื่อนยายของดินสุทธิ มีความแตกตางกันในปจจัยดานชวงระยะเวลาของการเก็บขอมูล
                   ปจจัยดานพื้นที่ศึกษา และปจจัยดานประเภทของความลาดชัน (ตารางที่ 36) กลาวคือ เมื่อเปรียบเทียบระหวาง
                   ชวงระยะเวลาของการเก็บขอมูลทั้งสามครั้ง พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  มีอัตราการชะลางพังทลายของดินใสสัดสวนที่
                   มากกวาการทับถมของตะกอนดิน โดยเฉพาะในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) และการเก็บขอมูลครั้งที่
                   3 (เดือนสิงหาคม) มีคาเฉลี่ย SRD เทากับ -3.665 และ -1.830 t/ha/yr ตามลําดับ ในขณะที่การเก็บขอมูลครั้งที่
                   1 (เดือนเมษายน) มีอัตราการทับถมของตะกอนดินอยูในสัดสวนที่มากกวา มีคาเฉลี่ย SRD เทากับ 0.502

                   t/ha/yr (ตารางที่ 36) จากขอมูลขางตน อาจสันนิษฐานไดวา ปริมาณน้ําฝนและการจัดการดินมีผลตออัตราการ
                   เคลื่อนยายของดิน โดยจะสังเกตวา เมื่อมีเขาสูฤดูฝน จะมีการอัตราเคลื่อนยายของดินในเชิงลบ (การชะลาง
                   พังทลายของดิน) มากที่สุด และเมื่อสังเกตไปที่พื้นที่ศึกษาอื่น ๆ ที่มีการจัดการดินเพื่อการอนุรักษดินและน้ํา
                   และการปกคลุมหนาดินดวยพืช จะมีอัตราสวนของการเคลื่อนยายของดินในเชิงบวก (การทับถมของตะกอนดิน)
                   มากกวา กลาวคือ พื้นที่ปายางพารา  มีคา SRD โดยเฉลี่ย เทากับ 1.839 -0.131 และ 2.992 t/ha/yr ในการ
                   เก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) การเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (มิถุนายน) และการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (สิงหาคม)
                   ตามลําดับ เชนเดียวกับพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  ที่มีอัตราสวนของการทับถมของดินมากกวา โดยมีคาเฉลี่ย SRD

                   เทากับ 1.563 4.670 8.648 t/ha/yr ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) การเก็บขอมูลครั้งที่ 2
                   (มิถุนายน) และการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (สิงหาคม) ตามลําดับ :โดยพื้นที่จัดระบบอนุรักษ  จัดเปนพื้นที่ที่มีการ
                   สะสมของตะกอนดินที่ไหลมารวมกันจากบริเวณอื่นมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ศึกษาทั้งหมด ดังที่แสดง
                   ในภาพที่ 37 ที่มีอัตราการเคลื่อนยายของดินในเชิงบวกอยางตอเนื่องตั้งแตเดือนเมษายน ถึง เดือนสิงหาคม โดย
                   ที่พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  และพื้นที่ปายางพารา  มีแนวโนมที่คลายคลึกกัน คือมีการการสูญเสียตะกอนดินในเดือน
                   มิถุนายนและจึงมีการทับถมของตะกอนดินในเดือนสิงหาคม
                          สําหรับปจจัยดานประเภทของความลาดชัน ที่มีผลตออัตราการเคลื่อนยายของดิน สามารถวิจารณ

                   ผลได ดังนี้ พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป (ภาพที่ 38 ก) มีแนวโนมของการชะลางพังทลายของดินจากบริเวณที่สูงกวาแลว
                   จึงเกิดการทับถมของตะกอนของดินในบริเวณพื้นที่ต่ํากวา กลาวคือ ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน)
                   และการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) มีอัตราการเคลื่อนยายของดินในเชิงลบ ณ บริเวณ Summit และ
                   Shoulder ในขณะเดียวกันก็มีอัตราการเคลื่อนยายของดินในเชิงบวก ณ บริเวณ Toeslope และ Footslope
                   ยกเวนการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) ที่มีแนวโนมในทางตรงดันขาม ซึ่งอาจเกิดจาก การเริ่มเขาสูชวงฤดู
                   ฝนในเดือนมิถุนายน และเพิ่งเริ่มมีปริมาณน้ําฝนตั้งแตเดือนมิถุนายนเปนตนไป สําหรับพื้นที่ปายางพารา  ที่มี
                   แนวโนมการเคลื่อนยายของดินที่คอนคอนคงที่ โดยมีสัดสวนของการทับถมของตะกอนดินที่มากกวาพื้นที่ปลูก

                   พืชทั่วไป  โดยในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) พบการชะลางของดินในพื้นที่สวนใหญแตมีอัตราเพียง
                   เล็กนอย แตอยางไรก็ตาม ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) มีการสะสมตัวของตะกอนดินในพื้นที่เหนือ
                   ขึ้นไป ณ บริเวณ Submit และ Shoulder ซึ่งคาดวานาจะเกิดจากการเคลื่อนยายของตะกอนดินมาจากพื้นที่
                   เหนือขึ้นไปอีก อันเนื่องมาจากปจจัยดานปริมาณน้ําฝนในเดือนสิงหาคม แตดวยพื้นผิวหนาที่มีสิ่งปกคลุม ไดแก
                   ไมยางพารา ไมยืนตน และเศษใบไมตาง ๆ ทําใหมีการชะลอการเคลื่อนยายของดินใหอยู ณ บริเวณเหนือขึ้นไป
                   เทานั้น (ภาพที่ 38 ข) ในขณะที่อัตราการเคลื่อนยายของดินในพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณการทับถมของ
                   ตะกอนดินที่สูงที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ศึกษาอื่น ๆ แมวาขอมูลจากการเก็บตัวอยางดินในเดือนเมษายน มี
                   การชะลางพังทลายของดิน ณ บริเวณตอนกลางของพื้นที่ และมีการทับถมของตะกอนที่สูงที่สุด บริเวณ
                   Toeslope ซึ่งเปนพื้นที่ที่ต่ําที่สุด แตอยางไรก็ตาม ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) และการเก็บขอมูล
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121