Page 122 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 122

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      107


                                                     210
                          6) ปริมาณคาความแรงของรังสี ( Pbex) ที่พบในแตละพื้นที่ศึกษามีความแตกตางกัน โดยพื้นที่
                   จัดระบบอนุรักษฯ มีคาเฉลี่ยของ  Pbex รองลงมาคือ พื้นที่ปายางพารา และพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป ตามลําดับ
                                             210
                          7) ปริมาณคาความแรงของรังสี ( Pbex) เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความลึกของดินพบวา มีคาสูงที่สุด
                                                    210
                   ที่ระดับความลึก 0-10 เซนติเมตร และลดลงเรื่อย ๆ เมื่อมีระดับความลึกที่เพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม เมื่อเขาสูชวงฤดู

                   ฝน สงผลใหเฉพาะพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯมีปริมาณ  Pbex ที่ระดับความลึก 20-30 เซนติเมตร มีปริมาณที่
                                                             210
                                   210
                   เทียบเทากับปริมาณ  Pbex ที่ระดับผิวหนาดิน
                          8) อัตราการเคลื่อนยายของดิน มีความแตกตางกันในแตละพื้นที่ศึกษา โดยพื้นที่เพาะปลูกพืชทั่วไป มี
                   อัตราการเคลื่อนยายของดินโดยการชะลางพังทลายของดินในแตละจุดเก็บตัวอยางดินมากที่สุด ในณะที่พื้นที่
                   จัดระบบอนุรักษฯ มีอัตราการเคลื่อนยายของดินโดยการทับถมของตะกอนดินในแตละจุดเก็บตัวอยางดินมาก
                   ที่สุด
                          9) อัตราการเคลื่อนยายของดิน มีความแตกตางกันในแตละประเภทของความลาดชัน โดยพื้นที่ปา
                   ยางพาราและพื้นที่จัดระบบอนุรักษมีการทับถมของตะกอนดิน ณ บริเวณที่สูงขึ้นไป มากที่สุด แสดงวาสูญเสีย
                   หนาดินที่ออกไปจากพื้นที่มีปริมาณนอย ตรงขามกับพื้นที่เพาะปลูกทั่วไป ที่มีทับถมของตะกอนดิน ณ บริเวณที่

                   ต่ําที่สุดของพื้นที่ศึกษา และพบการชะลางพังทลายของดิน ณ บริเวณที่สูงขึ้นไป หมายความวา พื้นที่เพาะปลูก
                   ทั่วไปมีอัตราการสูญเสียหนาดินมากกวาพื้นที่ศึกษาอื่น ๆ
                          10) เมื่อเปรียบเทียบอัตราการเคลื่อนยายของดิน ซึ่งเปนการหาคาเฉลี่ยผลรวมของการชะลางพังทลาย
                   ของดินและการทับถมของตะกอนดิน ที่มีแตพื้นที่ศึกษา พบวา พื้นที่จัดระบบอนุรักษ มีการเปลี่ยนแปลงของ
                   อัตราการเคลื่อนยายของดินสูงที่สุด รองลงมาคือพื้นที่ปายางพารา และพื้นที่เพาะปลูกทั่วไป ตามลําดับ

                          จากการศึกษาในโครงการวิจัยนี้ ทําใหพบขอสังเกต และขอเสนอแนะตาง ๆ ที่สามารถนํามาพัฒนาตอ

                   ยอดงานวิชาการสาขาการนุอรักษดินและน้ําได ดังนี้
                                  210
                          1) การใช  Pbex ในการเปน Tracer ติดตามการเคลื่อนยายของตะกอนดิน สามารถนํามาใชในการ
                                                                                            210
                                                                                 137
                   ประเมินหาอัตราการชะลางพังทลายของดินไดเทียบเทากับ ธาตุซีเซียม 137 ( Cs) โดยที่ Pbex มีขอดีคือ
                   สามารถยึดติดกับอนุภาคของดินหรือตะกอนดินไดดีกวา ทําใหสามารถทราบถึงการชะลางพังทลายและการทับ
                   ถมของตะกอนดินไดงาย
                                                                                                   210
                          2) การศึกษาหาปริมาณการเคลื่อนยายของดิน จําเปนตองมีพื้นที่อางอิงเพื่อหาปริมาณ  Pbex
                   Inventory of reference ที่ตองมั่นใจไดวาไมเกิดการปนเปอน หรือมีการรบกวนหนาดินใดๆทั้งสิ้น เพื่อจะนําคา
                   ดังกลาวมาคํานวนในสมการไดอยางแมนยํา
                          3) ถาตองการศึกษาการประเมินการชะลางพังทลายของดินควบคูไปกับการประเมินคุณภาพดิน
                   จําเปนตองเก็บขอมูลสมบัติทางกายภาพของดิน เชน ความหนาแนนรวมของดิน (Bulk density) เนื้อดิน (Soil

                   texture) อัตราการซึบซาบน้ําของดิน (Soil infiltration rate) ความชื้นของดิน (Soil moisture) หรือ ความ
                   อิ่มตัวของน้ําในดิน (Saturated Percentage) เปนตน เนื่องจาก คาความแรงรังสีและอัตราการเคลื่อนยายของ
                   ดินมีอิทธิพลรวมกับสมบัติทางกายภาพของดินมากกวา และคาดังกลาวมีความสัมพันธกับสมบัติทางเคมีของดินที่
                   นอยมาก
                          4) การใชสมการ Mass Balance II Model ในการคํานวณหาอัตราการเคลื่อนยายของดิน จําเปนตอง
                   ใชคาสัมประสิทธิ์ในพื้นที่นั้น ๆ จึงควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อใหไดคาสัมประสิทธิ์ที่เปนของประเทศไทย
                   โดยเฉพาะ นอกจากนี้ สมการที่กลาวมาขางตน ไมไดนําปจจัยดานการไถพรวนดินมาคํานวณดวย ซึ่งตองมีการ

                   เก็บขอมูลดินเพิ่มเติม แลวนํามาคํานวนดวยสมการ Mass Balance III Model จะทําใหการศึกษาพื้นที่
                   เกษตรกรรมมีความถูกตองแมนยํามากกวา
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127