Page 117 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 117

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      102


                   ครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) พบอัตราการเคลื่อนยายของดินในเชิงบวก (การทับถมของตะกอนดิน) ที่สูงสุด เมื่อ
                   เทียบกับพื้นที่ศึกษาอื่น ๆ และเมื่อเทียบกับทุกชวงเวลาการเก็บขอมูล (รู)ภาพที่ 39) โดยมีคา SRD สูงที่สุด ณ
                   บริเวณ Shoulder และ Backslope ซึ่งเปนบริวเณทางตอนกลางของพื้นที่ศึกษาและจุดกึ่งกลาสงของความลาด
                   ชัน ทั้งนี้ยังพบวาคาเฉลี่ย SRD เมื่อเขาสูชวงที่ฝนตกหนักที่สุด ก็มีปริมาณการสะสมของตะกอนดินที่มากที่สุด

                   เชนเดียวกัน (ภาพที่ 39) นั่นแสดงวา การที่มีสิ่งกีดขวางทางไหลของน้ํา หรือการใชมาตรการเพื่อชะลอการไหล
                   ของน้ํา ที่ปฏิบัติตามมาตรการการอนุรักษดินและน้ํา เชน การปลูกหญาแฝกเปนแนวขวางความลาดเท การคลุม
                   ดิน และการจัดการดินเพื่อการอนุรักษดินและน้ํา สามารถชวยลดการชะลางพังทลายของดินและสามารถเพิ่ม
                   อัตราการทับถมของตะกอนดินไมใหถูกเคลื่อนยายออกไปจากพื้นที่ได
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122