Page 43 - การจัดทำค่ามาตรฐานของมหธาตุสำหรับแปลผลวิเคราะห์ดินและพืชในขมิ้นชัน Standard Values of Macronutrient Elements for Soil and Plant Analysis in Turmeric (Curcuma longa L.)
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          33

                   สมบูรณ์ของดิน เกษตรกรจ าเป็นต้องใส่ปุ๋ยเพื่อชดเชยโพแทสเซียมที่ติดไปกับผลผลิต ซึ่งเป็นธาตุที่ติดไปกับ

                   เหง้าขมิ้นชันสูงกว่าธาตุชนิดอื่นอย่างเด่นชัด นอกจากนี้ ความเข้มข้นของแคลเซียม และแมกนีเซียมที่
                   เหมาะสมในใบ อยู่ในช่วงเดียวกับค่าแนะน าส าหรับเผือก (แคลเซียมแมกนีเซียม 7.0-15.0, 2.0-5.0 ก./กก.)

                   (Miyasaka et al., 2002) แต่อยู่ในช่วงแคบกว่า เมื่อประเมินจากผลการส ารวจโดยใช้ค่ากลาง ชี้ให้เห็นว่า

                   ความเข้มข้นแคลเซียมในใบอยู่ในช่วงต่ ากว่าค่าแนะน าเล็กน้อย ทั้งที่ปริมาณแคลเซียมที่สกัดได้ในดินอยู่
                   ในช่วงที่เพียงพอ ในขณะที่ ปริมาณแมกนีเซียมที่สกัดได้ในดิน รวมถึงความเข้มข้นในใบ มีค่าสูงกว่าเกณฑ์

                   แนะน า อาจเนื่องจาก ความไม่สมดุลของธาตุอาหาร แมกนีเซียมที่สูงกว่าเกณฑ์ในดินอาจเป็นปฏิปักษ์ต่อการ

                   ดูดใช้แคลเซียมของต้นขมิ้น (ยงยุทธ, 2552) ส่วนความเข้มข้นในช่วงเพียงพอ ของก ามะถันในใบขมิ้นชัน อยู่
                   ในช่วงต่ ากว่าค่าแนะน าในมันส าปะหลัง (3.0-3.6 ก./กก.) (Howeler, 2017) และเผือก (2.0-3.0 ก./กก.)

                   (Miyasaka et al., 2002) ชี้ให้เห็นว่า ขมิ้นชันต้องการก ามะถันในปริมาณต่ ากว่า มันส าปะหลังและเผือก
                   อย่างเด่นชัด ถึงแม้จะเป็นพืชที่มีหัวหรือเหง้าเหมือนกัน ดังนั้น การจัดการธาตุอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานที่มี

                   ความจ าเพาะตามชนิดพืชจึงเป็นสิ่งจ าเป็น ส าหรับแนวทางการน าเกณฑ์มาตรฐานธาตุอาหารในใบพืชไปใช้นั้น

                   หากเกษตรกรเก็บตัวอย่างส่งวิเคราะห์ และพบว่า ค่าอยู่ในระดับต่ าหรือขาดแคลน เกษตรกรจ าเป็นต้องใส่ปุ๋ย
                   ที่มีธาตุอาหารชนิดนั้นเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ แต่หากธาตุอาหารอยู่ในระดับ

                   เพียงพอเกษตรกรสามารถใส่ปุ๋ยสูตรเดิมและอัตราเท่าเดิม ในขณะที่ หากระดับธาตุอาหารในพืชอยู่ในระดับ
                   มากเกินพอ เกษตรกรก็ไม่จ าเป็นต้องใส่ปุ๋ย หรือสามารถลดปริมาณปุ๋ยลงได้ ในฤดูการผลิตถัดไป (จ าเป็น และ

                   คณะ, 2550) อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมีรายงานความไม่สมดุลของธาตุอาหารบางชนิดในดิน ส่งผลให้เกิด

                   อันตรกิริยาเชิงลบหรือเป็นปฏิปักษ์ระหว่างกัน (สุทธิ์เดชา และคณะ, 2563) การพิจารณาการใส่ปุ๋ยจึงควร
                   พิจารณาการวิเคราะห์ดินและธาตุอาหารในพืชควบคู่กัน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48