Page 20 - เทคโนโลยีการจัดการดินเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์มันแกวที่มีปริมาณและคุณภาพที่ดีที่เหมาะสมในดินทราย จังหวัดมหาสารคาม
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              18



                   ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารของปุยคอกหมัก สารสกัดสมุนไพรไลแมลง และน้ําหมักชีวภาพ ป
                   ที่ 1

                        ชนิดของปุย        %OM  %OC         EC       pH       %N  %P O  %K O  %Ca  %Mg
                                                                                               2
                                                                                        2
                                                                   (1:10 H 2O)
                1. ปุยคอกหมัก              35.22  20.43   4.41      9.5      1.54   0.53    1.628  1.159  0.313
                2.สารสกัดไลแมลงศัตรูพืช     -       -     16.34     4.0      1.29   0.18    0.664  0.227  0.070
                2. น้ําหมักชีวภาพ            -       -     30.26     4.8      1.33   0.33    0.555  0.831  0.064
                   ที่มา: กลุมวิเคราะหดิน  สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5


                   ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารของปุยคอกหมัก สารสกัดสมุนไพรไลแมลง และน้ําหมักชีวภาพ ป
                   ที่ 2
                        ชนิดของปุย        %OM  %OC         EC       pH       %N  %P O  %K O  %Ca  %Mg
                                                                                               2
                                                                                        2
                                                                   (1:10 H 2O)
                1. ปุยคอกหมัก              28.71  16.65    3.47     7.8      1.51   0.905  1.138  0.66     0.20
                2.สารสกัดไลแมลงศัตรูพืช     -       -      7.55     3.7      0.23   0.281  0.392  0.11     0.06
                2. น้ําหมักชีวภาพ            -       -      N/A      4.1      N/A    0.023  0.005  0.03  0.004
                   ที่มา: กลุมวิเคราะหดิน  สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5

                   1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน
                         1.1 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน : จากการศึกษาเทคโนโลยีการจัดการดินเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ
                   มันแกวที่มีปริมาณและคุณภาพที่ดี ที่เหมาะสมในดินทราย จังหวัดมหาสารคาม พบวาปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน
                                                                                                   -1
                   ประโยชนตอพืชในดินกอนที่จะทําการปลูกพืชอยูในระดับคอนขางสูงในปแรก มีคา 15.50 mgkg  หลังเก็บเกี่ยว
                                                                                                          -1
                   ผลผลิตเมล็ดมันแกว วิธีปลูกมันแกวโดยยกรอง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชมีคา 18.2 mgkg  สวน
                                                                                               -1
                   วิธีการปลูกมันแกวแบบไมยกรอง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชมีคา 18.07 mgkg  ไมมีความแตกตาง
                   กันทางสถิติ แตการศึกษาซ้ําในปที่สองในแปลงบริเวณเหนือขึ้นไปเล็กนอย พบวาปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน
                                                                                            -1
                   ประโยชนตอพืชในดินกอนที่จะทําการปลูกพืชอยูในระดับคอนขางสูง มีคา 15.05 mgkg  หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
                                                                                                 -1
                   มันแกว วิธีปลูกมันแกวโดยยกรอง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชมีคา 17.29 mgkg  สวนวิธีการปลูก
                                                                                      -1
                   มันแกวแบบไมยกรอง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชมีคา 15.08 mgkg  มีความแตกตางทางสถิติอยาง
                   มีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับความเชื่อมั่น 99% ดังนั้น วิธีการปลูกมันแกวแบบยกรองสงผลตอปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน

                   ประโยชนตอพืชในดินเหลือคางในดินมากกวาการปลูกมันแกวแบบไมยกรอง แสดงวามีการดูดดึงฟอสฟอรัสไปใช
                   ในการเจริญเติบโตของมันแกวจํานวนหนึ่ง แลวยังเหลือฟอสฟอรัสจํานวนหนึ่งตกคางในดิน แตกรณีที่ฟอสฟอรัสมี
                   ปริมาณไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเมื่อเทียบกับกอนการทดลองนั้นเปนผลเนื่องจากเกิดกิจกรรมการแปรสภาพ
                   ฟอสฟอรัสโดยจุลินทรียในดินอยางสมดุล ซึ่งฟอสฟอรัสจะไมถูกดูดยึดโดยสารประกอบแรธาตุบางชนิดในดิน
                   ไดแก เหล็ก  หรือ อลูมินั่ม เนื่องจากสภาพปฏิกิริยาดินที่เหมาะสม

                         สําหรับการใสปุยชนิดตางๆ ไมไดทําใหคาความเปนประโยชนของฟอสฟอรัสในดินหลังการทดลองแตกตาง
                   กันทางสถิติ แตมีแนวโนมวา การใชปุยเคมีตามคําแนะนําจะมีคาฟอสฟอรัสเหลือคางในดินสูงกวาการใชปุยชนิด
                                                                                                -1
                   อื่น โดยในปแรกมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชหลังการทดลองมีคา 19.15 mgkg  ในการทดลองปที่
                                                                                     -1
                   สองมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชหลังการทดลองมีคา 17.42 mgkg
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25