Page 18 - เทคโนโลยีการจัดการดินเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์มันแกวที่มีปริมาณและคุณภาพที่ดีที่เหมาะสมในดินทราย จังหวัดมหาสารคาม
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              16



                          - ฉีดพนน้ําหมักชีวภาพทุกตํารับการทดลอง พนทุก ๆ 7 วัน
                          - ฉีดพนสารสกัดเมล็ดมันแกวปองกันแมลงศัตรูพืช พนทุก ๆ 7 วัน ทุกแปลง และชวงที่มีการระบาดของ

                   แมลงศัตรูพืช  กําจัดวัชพืชในบริเวณที่หางจากโคนตนประมาณ 5 ครั้ง
                          -  หลังปลูกมันแกว อายุ 4  เดือนเศษ เก็บผลผลิตเมล็ดพันธุมันแกว และเก็บตอเนื่องไปอีกประมาณ 2
                   เดือนเศษ รวมเวลาเก็บเกี่ยวครั้งสุดทายและรื้อแปลงเมื่ออายุมันแกวประมาณ 7 เดือน
                          4) บันทึกขอมูล
                         สารสกัดสมุนไพร :กอนนําไปใชในการทดลองโดยวิเคราะหองคประกอบทางเคมี ไดแก ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส,

                                         โพแทสเซียม,  แคลเซียม,  แมกนีเซียม, คาปฏิกิริยาดิน
                         น้ําหมักชีวภาพ   :กอนนําไปใชในการทดลองโดยวิเคราะหองคประกอบทางเคมี ไดแก ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส,
                                         โพแทสเซียม,  แคลเซียม,  แมกนีเซียม, คาปฏิกิริยาดิน

                         ปุยคอกหมัก      :กอนนําไปใชในการทดลองโดยวิเคราะหองคประกอบทางเคมี ไดแก ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส,
                                         โพแทสเซียม,  แคลเซียม,  แมกนีเซียม, คาปฏิกิริยาดิน, คาการนําไฟฟา, อินทรียวัตถุ,
                                         อินทรียคารบอน
                         เคมีของดิน      :สุมเก็บตัวอยางดินในแปลงทดลองความลึก 0-30 เซนติเมตร กอนปลูก – หลังปลูกมัน

                                         แกว  เพื่อนําไปวิเคราะหสมบัติทางเคมี ไดแก คาปฏิกิริยาดิน, ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส,
                                         โพแทสเซียม,  แคลเซียม,  แมกนีเซียม, ความจุแลกเปลี่ยนไอออนบวก, อินทรียวัตถุ
                         ขอมูลพืช       :เก็บเกี่ยวเมล็ดมันแกวในแปลง ชั่งน้ําหนักเมล็ดพันธุมันแกว และนับเปอรเซ็นตเมล็ดดี
                                         ตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ ดังนี้ 1) น้ําหนักแหงของเมล็ด (seed dry weight) หนวย

                                         เปนกรัมตอ 100 เมล็ด 2) ความชื้นของเมล็ด (seed moisture content) นําเมล็ดมัน
                                         แกว ตัวอยางละ 40-50 กรัม สุม 5 กรัม 2 ซ้ํา ตัดเมล็ด อบที่อุณหภูมิ 103  C เปน
                                         เวลา 17 ชั่วโมง โดยวิธี hot air oven เมื่อครบกําหนดแลวนํามาชั่งน้ําหนักเมล็ดหลัง
                                         อบ คํานวณความชื้นของเมล็ดพันธุตามมาตรฐาน 3)ความงอกมาตรฐาน (standard

                                         germination)  เพาะในกลองทดสอบความงอกที่มีทรายที่รอนผานตะแกรงและอบฆา
                                         เชื้อ ใหความชื้น  ปดฝากลอง จํานวน 100  เมล็ดตอซ้ํา 4  ซ้ํา ประเมินความงอกที่ 15
                                         วันหลังเพาะ โดยใชเมล็ดพันธุที่เก็บรักษาไวในสภาพอุณหภูมิหองที่อายุการเก็บรักษา

                                         0, 6, 12, 18, 24 และ 30 เดือน

                           การวิเคราะหขอมูล
                         ขอมูลที่ไดจากการทดลอง นํามาวิเคราะหความแปรปรวนทางสถิติ (Analysis of variance) เพื่อหาคา F-
                   value  หากขอมูลแสดงความแตกตางที่ระดับความเชื่อมั่น 95  และ  99  เปอรเซ็นต นํามาเปรียบเทียบความ

                   แตกตางของคาเฉลี่ยโดยใช DMRT (Duncan' s New Multiple Range Test) ซึ่งเปนการเปรียบเทียบตํารับการ
                   ทดลองหลายคู โดยใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูลทางสถิติสําเร็จรูป Statistix 8
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23