Page 14 - ผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปูนโดโลไมท์ต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมันในพื้น ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง Effect of using organic fertilizer together with dolomite for growth on oil plam in acid sulfate soil at Phattalung province
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      ประมาณ 15 เซนติเมตรจากผิวดิน นอกจากนี้จะพบรากพิเศษคือรากอากาศตรงบริเวณโคนตนทําหนาที่ถายเท
                      อากาศระหวางรากกับบรรยากาศดวย
                                    ลําตน มีลักษณะตั้งตรง มีเนื้อเยื่อเจริญเฉพาะตรงปลายยอด ไมมีกิ่งแขนง ประกอบดวยขอ
                      และปลองที่ถี่มาก แตละขอมีหนึ่งทาง ใบเวียนลําตน ทั้งทางดานซายและดานขวา โดยมีจํานวนใบ 8 ทางใบตอ
                      รอบ โดยทั่วไปความสูงของตนปาลมจะเพิ่มขึ้นปละ 50 เซนติเมตร ซึ่งขึ้นอยูกับพันธุปาลม ระยะการปลูกหรือ

                      การตัดแตงทางใบ
                                    ใบ เปนใบประกอบรูปขนนก (pinnate) แตละใบแบงออกเปน 2 สวน คือสวนแกนกลาง
                      (rachis) ที่มีใบยอยอยู 2 ขางและสวนของกานทางใบซึ่งมีขนาดสั้นกวาสวนแรกและมีหนามสั้นๆอยู 2 ขางแต
                      ละทางใบมีใบยอย 100-160 คู แตละใบยอยจะยาว 80-120 เซนติเมตร กวาง 4-6 เซนติเมตร ใบจะมีการ
                      พัฒนาจากบริเวณเนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายยอดของลําตน
                                    ชอดอก ปาลมน้ํามันเปนพืชสมบูรณเพศ โดยดอกเพศผูและดอกเพศเมียแยกชอดอกอยูในตน
                      เดียวกัน จะเริ่มออกดอกเมื่ออายุประมาณ 2-3 ป หลังจากปลูก ชอดอกเพศผู ประกอบดวยดอกยอย
                      (Spikelet) มีลักษณะยาวเรียวคลายนิ้วมือ เรียงอยูบนแกนกลางชอดอก เวลาดอกบานจะเห็นเปนสีเหลืองออน
                      กลิ่นหอม ชอดอกเพศเมียเปนแบบ Spike ประกอบดวยชอดอกยอยเรียงเปนเกลียวบนแกนชอดอกใหญ เมื่อ

                      ดอกพรอมที่จะผสมจะเห็นยอดเกสรตัวเมียซึ่งมี 3 แฉก จะมีสีขาวหรือเหลืองออนแถบแดงเคลือบดวยเมือก
                      เหนียวๆ เมื่อพนระยะนี้แลวจะเปลี่ยนเปนสีแดงและมวง ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสมชอดอกจะพัฒนาเปนชอ
                      ดอกเพศเมียเปนสวนใหญ การผสมมีลมและแมลงเปนพาหะโดยเฉพาะดวงปาลมน้ํามัน เปนแมลงที่สําคัญใน
                      การชวยผสมเกสร
                                    ผลและเมล็ด ผลปาลมน้ํามันไมมีกานผลเปนแบบ Sessile drup ประกอบดวยเปลือกชั้นนอก
                      เปลือกชั้นกลางหรือกาบ ซึ่งเปนสวนที่มีน้ํามันอยูทั้ง 2 สวน เรียกรวมกันวา Pericarp และมีชั้นในสุดเปนกะลา
                      ปาลมน้ํามันที่ปลูกเปนการคาโดยทั่วไปพบวามีสีผิวที่เปลือกนอกอยู 3 ลักษณะ คือ 1.ผลดิบเปนสีเขียวเมื่อสุก

                      เปนสีสม เรียกวา Virescens 2.ผลดิบมีสีดํา ปลายผลมีสีงาชางเมื่อสุกมีสีแดง เรียกวา Nigrescens และ 3.สี
                      ผิวเมื่อสุกมีสีเหลืองซีด เรียกวา Albescens สําหรับเมล็ดประกอบดวยเนื้อในเมล็ด ซึ่งมีน้ํามันอยูเชนกัน และ
                      สวนของคัพภะ เมล็ดจะงอกเมื่อไดรับการกระตุนโดยอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสม
                                    ทะลาย ประกอบดวยกานทะลาย ชอดอกทะลายยอยและผล ทะลายปาลมที่เหมาะสมควรมี
                      น้ําหนักทะลายระหวาง 15-25 กิโลกรัม เนื่องจากจะเปนขนาดที่ใหสัดสวนของผลปาลมตอทะลายมากที่สุด ทํา
                      ใหมีเปอรเซ็นตน้ํามันสูงสุด หากขนาดทะลายใหญจะใหจํานวนทะลายนอย แตถามีทะลายมากจะใหทะลายที่มี
                      ขนาดเล็ก
                                    2.2 สภาพแวดลอมที่เหมาะสมสําหรับปลูกปาลมน้ํามัน
                                    การเจริญเติบโตในชวง 1-3 ปแรก เปนการเนนการเจริญเติบโตทางลําตน และเตรียมความ

                      พรอมกอนใหผลผลิต ธาตุอาหารหลักที่จําเปน เชน ธาตุฟอสฟอรัส มีบทบาทในการสรางองคประกอบของ
                      เซลล และการสืบพันธุ ทําหนาที่เปนตัวรับและถายทอดพลังงานระหวางสารตางๆ ในกระบวนการสังเคราะห
                      แสง การหายใจ เปนตน หากปาลมน้ํามันขาดธาตุฟอสฟอรัสจะทําใหอัตราการเจริญเติบโตต่ํา ทางใบสั้น ลําตน
                      เล็ก และขนาดของทลายปาลมเล็ก หากขาดเปนเวลานานๆ ทรงพุมจะมีลักษณะคลายปรามิด (กรมวิชาการ
                      เกษตร, 2547) จากการทดลองปลูกปาลมน้ํามันในชุดดินนราธิวาส ซึ่งเปนดินที่มีน้ําทวมขังอยูระยะเวลาหนึ่ง
                      ตองทําการขุดคูยกรอง และปรับสภาพความเปนกรดดางของดินดวยหินปูนฝุน จะทําใหปาลมน้ํามันสามารถให

                      ผลผลิตสูง การสงเสริมการปลูกปาลมน้ํามันในพื้นที่ดินที่เปนปญหาอื่นๆ ที่มีปญหาน้ําทวมขังลักษณะ
                      เชนเดียวกันกับชุดดินนราธิวาส สามารถปลูกปาลมน้ํามันใหผลผลิตอยูในระดับที่พึงพอใจเชนเดียวกัน (ชัยวัฒน
                      และคณะ, 2548) ลักษณะดินที่เหมาะสมสําหรับปลูกปาลมน้ํามันควรมีความอุดมสมบูรณดี เปนดินรวนเหนียว
                      ถึงดินเหนียว มีการระบายน้ําดี มีความลึกของชั้นดินมากกวา 75 เซนติเมตร มีธาตุอาหารสูง ความเปนกรดเปน


                                                                                                          5
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19