Page 15 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าว กข 41 จังหวัดพิษณุโลก Study efficiency of bio-fertilizer to increase growth and rice (Ko Kho 41) yield in Phitsanulok Province
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                                                                                                         7


               Serratia marcesens อาศัยอยูในชองวางระหวางเซลลพืช (Jame et al., 2000; Ladha et al., 1995) และ

               aerenchyma ของราก ใบ และลําตนขาว (Gyaneshwar et al., 2001)    นอกจากนี้ยังพบวา  มีเอนโดไฟติก
               แบคทีเรียบางกลุมชวยในการกระตุนการเจริญเติบโตของพืชได  โดยชวยใหพืชหลั่ง  phytohormones  ไปสูพื้นผิว
               ราก ทําใหเพิ่มการดูดซึมธาตุอาหาร โดยมีรายงานวา Herbaspirillum seropedicae Z67 (James et al., 2002),
               Herbaspirillum sp. B501 (Zakria et al., 2007), Serratia marcescensIRBG500 (Gyaneshwar et al., 2001),
               Herbaspirillum seropedicae และ Burkholderia spp. (Baldani et al., 2001) สงผลใหน้ําหนักของผลผลิต
               ของขาวเพิ่มขึ้นมากกวาตําหรับควบคุม  และมีการพบ  Pantoea  agglomerans  YS19  สามารถตรึงไนโตรเจนใน

               อาหาร N free medium และผลิตฮอรโมนพืช (ออกซิน กรดแอบไซซิก จิบเบอเรลลิน ไซโตไคนิน) สงเสริมการ
               เจริญเติบโตของพืชอาศัยได  (Feng,  2006)  นอกจากนี้ยังมีการใชเอนโดไฟติกแบคทีเรียเพื่อยับยั้งจุลินทรียสาเหตุ
               โรคในขาวและพืชอื่นๆ (Mukhopadhyay et al., 1996; Padgham et al., 2005)


               ขาวพันธุ กข 41 (RD41)
                      ขาว พันธุ กข 41 (RD41) เปนชนิด ขาวเจา ไดจากคูผสม ลูกผสมชั่วที่ 1 ของ CNT85059-27-1-3-2 และ
               สุพรรณบุรี 60 นําไปผสมพันธุกับ RP217-635-8 (กรมการขาว, 2559)

               ลักษณะประจําพันธุ
                      เปนขาวเจาไมไวตอชวงแสง ความสูงประมาณ 104 เซนติเมตร อายุเก็บเกี่ยว 105 วัน กอตั้ง ตนแข็ง ใบ

               และกาบใบสีเขียว ใบธงตั้งตรง คอรวงโผลพนจากกาบใบธงเล็กนอย ยอดเกสรตัวเมียสีขาว เมล็ดขาวเปลือกสีฟาง
               เปลือกเมล็ดมีขนสั้น รูปรางเรียว เมล็ดขาวเปลือก ยาว x กวาง x หนา = 10.40 x 2.5 x 2.0 มิลลิเมตร เมล็ดขาว
               กลอง ยาว x กวาง x หนา = 7.7 x 2.2 x 1.8 มิลลิเมตร ปริมาณอมิโลสสูง (27.15%) คุณภาพการสีดีไดขาวเต็ม
               เมล็ด ระยะพักตัวของเมล็ดพันธุประมาณ 9-10 สัปดาห ผลผลิตประมาณ 722 กิโลกรัมตอไร


               ลักษณะเดน
                      ผลผลิตสูง มีเสถียรภาพดี ใหผลผลิตเฉลี่ย 722 กก./ไร สูงกวาสุพรรณบุรี 1 (645 กก./ไร) และชัยนาท1
               (640 กก./ไร) คิดเปนรอยละ 12 และ 13 ตามลําดับ แตไมแตกตางจากพิษณุโลก 2 (719 กก./ไร)
                      คอนขางตานทานเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาล และโรคไหม
                      คุณภาพเมล็ดทางกายภาพดีเปนขาวเจาเมล็ดยาวเรียว ทองไขนอย คุณภาพการสีดีสามารถสีเปนขาวสาร

               100 เปอรเซ็นตได

               ขอควรระวัง
                      ออนแอตอโรคขอบใบแหง ไมควรใสปุ ยไนโตรเจนในระดับสูงเกินไปจะทําใหเกิดโรครุนแรง ออนแอตอ

               เพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาล ในเขตจังหวัดนครปฐมและปทุมธานีการปลูกในชวงกลางเดือนกันยายน – พฤศจิกายน จะ
               กระทบอากาศเย็นทําใหผลผลิตตํ่ากวาปกติ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20