Page 13 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าว กข 41 จังหวัดพิษณุโลก Study efficiency of bio-fertilizer to increase growth and rice (Ko Kho 41) yield in Phitsanulok Province
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                                                                                                         5


               จังหวัดพิษณุโลก  คือมีลักษณะพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางธรรมชาติ  เนื่องจากลักษณะพื้นที่ทางตอนเหนือ  ทาง

               ตะวันออก  และตอนกลางบางสวนเปนเขตภูเขาสูง  ที่ราบสูงและลาดเอียงลงมาทางตอนกลาง  ทางตะวันตก  และ
               ทางตอนใตจนเปนพื้นที่ราบ  พื้นที่ราบลุม  ทําใหสามารถประกอบอาชีพเกษตรกรรมไดทุกสาขา  เชน  สาขาปาไม
               สาขาพืช สาขาประมง และสาขาปศุสัตว โดยเขตที่ราบลุมแมน้ําในพื้นที่อําเภอเมือง อําเภอพรหมพิราม อําเภอบาง
               กระทุม  และอําเภอบางระกํา  จะเปนแหลงปลูกขาวที่สําคัญของจังหวัดที่ทํารายไดหลักใหกับจังหวัดพิษณุโลก
               นอกจากนี้ในพื้นที่เขตอําเภอบางระกําบริเวณพื้นที่ใกลลุมน้ํายมทุกปจะเกิดปญหาน้ําทวมซ้ําซาก ราษฎรไมสามารถ
               ปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวได  อําเภอบางระกําจึงเปนแหลงรองรับน้ําในฤดูฝนและเปนแหลงผลิตสัตวน้ําธรรมชาติและ

               แหลงเพาะเลี้ยงสัตวน้ําที่ทํารายไดใหกับประชาชนในพื้นที่ไดหากสามารถพัฒนาพื้นที่ตามศักยภาพใหเปนแหลง
               เพาะพันธุปลาน้ําจืดเพื่อการศึกษาและขยายปริมาณผลผลิตสัตวนําจืดรวมถึงการสงเสริมพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว
               น้ําจะทําใหอําเภอบางระกํา เปนแหลงทําประมงน้ําจืดที่สําคัญของจังหวัดพิษณุโลกไดตอไป


               3. สภาพอุตุนิยมวิทยา
               3.1 ฤดูกาล
                          ฤดูกาลของจังหวัดพิษณุโลกแบงออกไดดังนี้
                          ฤดูหนาว เริ่มตั้งแตกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ ซึ่งเปนฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
               อากาศจะหนาวเย็นและแหง อากาศจะเริ่มเย็นตั้งแตปลายเดือนตุลาคม เดือนมกราคมเปนเดือนที่มีอากาศหนาว
               ที่สุดของป

                          ฤดูรอน เริ่มตั้งแตกลางเดือนมีนาคมถึงกลางเดือนพฤษภาคม จะมีอากาศรอนอบอาวมาก โดยเฉพาะ
               เดือนเมษายนอากาศรอนจัดที่สุดในรอบป
                          ฤดูฝน เริ่มตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม จะเปนฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใตพัดเขาสู
               ประเทศไทยอากาศจะชุมชื้น  และมีฝนตกชุกโดยเฉพาะเดือนกันยายนเปนเดือนที่มีฝนตกมากที่สุดในรอบป


               3.2 ลักษณะภูมิอากาศ
                          โดยภาพรวมของลักษณะภูมิอากาศ สรุปไดวามีสภาพอากาศรอนชื้น ชวงฤดูฝนจะไดรับอิทธิพลจาก
               ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต พัดพาเอาความชื้นจากทะเลอันดามันและมหาสมุทรอินเดีย ในชวงเดือนพฤษภาคมถึง
               เดือนตุลาคม ตอจากนั้นอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากประเทศจีนและไซบีเรียพัดผานทําใหอากาศ
               เย็นและแหงแลง ในชวงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ

                          จากการรวบรวมขอมูลภูมิอากาศจากสถานีตรวจวัดกรมอุตุนิยมวิทยาเฉลี่ย10 ป (พ.ศ. 2553 -2562)
               สรุปไดดังนี้
                          1) ปริมาณน้ําฝน รวมทั้งป 1,317.3 มิลลิเมตร เฉลี่ยสูงสุดเดือนกันยายนปริมาตร 277.7 มิลลิเมตร
               ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยต่ําสุดเดือนธันวาคม ปริมาตร 13.5 มิลลิเมตร

                          2) จํานวนวันที่ฝนตก รวมทั้งป 115 วัน ฝนตกเฉลี่ยมากที่สุดในเดือนสิงหาคม 20  วัน จํานวนวันที่
               ฝนตกเฉลี่ยนอยที่สุดในเดือนกุมภาพันธและเดือนธันวาคม 2 วัน
                          3) อุณหภูมิ เฉลี่ยทั้งป 28.2 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในเดือนเมษายน 37.7 องศาเซลเซียส
               และเฉลี่ยต่ําสุดในเดือนมกราคม 19.0 องศาเซลเซียส
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18