Page 11 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าว กข 41 จังหวัดพิษณุโลก Study efficiency of bio-fertilizer to increase growth and rice (Ko Kho 41) yield in Phitsanulok Province
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                                                                                                         3


                                                    หลักการและเหตุผล


                      ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม        ประชาการสวนใหญมีอาชีพการเกษตรโดยภาพรวมมีพื้นที่ใน
               การเกษตรทั้งหมด 132.49 ลานไร เปนพื้นที่ปลูกขาว 66.27 ลานไร ผลผลิตเฉลี่ย (นาปและนาปรัง) 419 กิโลกรัม
               ตอไร    ในขณะที่พื้นที่ปลูกขาวสวนใหญกวารอยละ   51.6   ของพื้นที่ปลูกขาวทั้งประเทศอยูในภาค
               ตะวันออกเฉียงเหนือ  แตใหผลผลิตโดยเฉลี่ยนาปและนาปรังเพียง  380  กิโลกรัมตอไร (สํานักงานสถิติการเกษตร,
               2546) ซึ่งนับวาอยูในเกณฑต่ําเมื่อเทียบกับประเทศผูผลิตขาวคูแขงรายสําคัญในทวีปเอเชีย  โดยปจจัยในการเพิ่ม

               ผลผลิตขาวที่เกษตรกรใช  คือ  ปุยเคมี  จึงทําใหเกษตรกรใชปุยเคมีเพิ่มมากขึ้นเพื่อการเรงการเจริญเติบโตและเพิ่ม
               ผลผลิต    ถึงแมในปจจุบันเกษตรกรจะมีความรูความเขาใจในการใชปุยเคมีมากขึ้น  โดยใชปุยตามคําแนะนําของ
               นักวิชาการเกษตรทําใหมีปริมาณการใชปุยลดลง  แตราคาตอหนวยของปุยเคมีในปจจุบันสูงขึ้นทําใหตนทุนในการ
               ผลิตของเกษตรกรสูงขึ้นเรื่อยๆ  ขณะที่ในระบบนิเวศนวิทยานาขาวมีจุลินทรียที่เปนประโยชนอาศัยอยูจํานวนมาก

               และหลากหลายสายพันธุ ทั้งที่อยูในดินและสวนตางๆ ของพืชทั้งใบ ลําตน และราก มีทั้งชนิดที่อาศัยอยูในดินรอบ
               ผนังเซลลพืช  ภายในเซลลพืช  หรือแมกระทั้งภายในทอน้ําทออาหารพืช  โดยสวนใหญจะอยูอาศัยกันแบบพึ่งพา
               อาศัยกัน (hardoim et al., 2008) โดยมีหลายสายพันธุที่มีประสิทธิภาพสูงในการตรึงไนโตรเจนจากอากาศ ละลาย
               ซิลิเกตในดิน และสรางสารเสริมการเจริญเติบโตที่เปนประโยชนแกพืช เชน Pseudomonas sp. Burkholderia
               sp. และ Azorhizobium sp. เปนตน (jame et al., 2002) ซึ่งแบคทีเรียเหลานี้จะมีประโยชนอยางมากในระบบ
               การเกษตร  โดยเฉพาะชวยลดตนทุนการใชปุยเคมีใหแกเกษตร  ซึ่งถาสามารถแยกและคัดเลือกจุลินทรียกลุม

               ดังกลาวไดและนํามาประยุกตใชในการผลิตขาวจะเปนประโยชนอยางมากแกเกษตร
                      ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคที่จะศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑปุยชีวภาพสําหรับนาขาวตอ
               การเจริญเติบโตและผลผลิตขาวไวแสงในดินรวนปนทราย   เพื่อเปนขอมูลและแนวทางใหแกเกษตรกรในการลด
               ตนทุนการผลิตขาว


                                                       วัตถุประสงค

                      1.  เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑปุยชีวภาพสําหรับนาขาวตอการเจริญเติบโตและผลผลิตขาว  กข
               41 จ. พิษณุโลก
                      2. เพื่อศึกษาอัตราทดแทนการใชปุยในแปลงทดลองขาว กข 41 จ. พิษณุโลก

                      3. เพือศึกษาความแตกตางของผลิตภัณฑปุยชีวภาพสารระหวางรูปแบบผงและรูปแบบน้ํา
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16